920 likes | 1.03k Views
Part II Application. By Aj-Kulachatr Chatrakul Na Ayudhaya Marketing Department Business Administration Faculty. Ch 7 e-Marketing. By Aj-Kulachatr Chatrakul Na Ayudhaya Marketing Department Business Administration Faculty. Marketing Information System Part II ; Application.
E N D
Part IIApplication By Aj-Kulachatr Chatrakul Na Ayudhaya Marketing Department Business Administration Faculty
Ch 7e-Marketing By Aj-Kulachatr Chatrakul Na Ayudhaya Marketing Department Business Administration Faculty
Marketing Information System Part II ; Application Chapter VI “e-Marketing” • Overview of e-Marketing • Review of IT Role in Marketing • e-Marketing Opportunity and Consumer behavior • e-Marketing Mix Strategy • e-Commerce • M-Commerce Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Commerce “Half of all goods sold online in 2018” (Source ; The GW Forecast of George Washington University) Kulachatr C.Na Ayudhya
สถิติผู้ใช้อินเทอร์เนตในประเทศไทยสถิติผู้ใช้อินเทอร์เนตในประเทศไทย 13.6 M http://internet.nectec.or.th Kulachatr C.Na Ayudhya
สถิติผู้ใช้อินเทอร์เนตทั่วโลกสถิติผู้ใช้อินเทอร์เนตทั่วโลก Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing Review of Business and Marketing in digital economy or “e-conomy” e-Term definition (วัชรพงศ์ ยะไวทย์ Max Saving Co.,ltd) • e-Conomy หมายถึงเศรษฐกิจยุคใหม่ หรือยุคดิจิตอล หรือยุคอีเลกทรอนิกส์ ที่เกิดจากกิจกรรมด้าน e-Business และ e-Commerce ที่ซื้อขายสินค้าผ่านระบบอินเตอร์เนต จนทำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศที่เจริญแล้ว มีมูลค่าของสินค้าดิจิตอลอยู่ในสัดส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 50 แต่ในขณะเดียวกันมีตันทุนลดต่ำลงกว่าเดิมมาก ซึ่งผลที่เกิดขึ้นไม่ได้มาจากเทคโนโลยีแต่เพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการไหล เวียนของข่าวสารและความรู้ที่มีประสิทธิภาพด้วย Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing Review of Business and Marketing in digital economy or “e-conomy” e-Term definition • e-Business หมายถึง การดำเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีอีเลกทรอนิกส์หรืออินเตอร์เนตเป็นสื่อกลาง โดยมีการประยุกต์ใช้ในทุกกิจกรรมของธุรกิจ เช่น • การจัดการหน้าร้าน หลังร้าน การบริหารสาขา (Intranet) • การเชื่อมต่อกับองค์กรภายนอก (Extranet) • เชื่อมต่อกับลูกค้าทั้งโลก (Internet) เช่น • การเชื่อมต่อกับ Suppliers (e-Supply Chain) • การเชื่อมต่อกับธนาคาร (e-Banking) • การเชื่อมต่อกับลูกค้าทั้งโลก (e-Global) • ( e-Biz) Kulachatr C.Na Ayudhya
E-MarketingOverview of e-Marketing e-Marketing Definition หมายถึง กิจกรรมทางการตลาดทั้งหมดที่อาศัยสื่อกลางที่เป็น electronics หรืออุปกรณ์ทางอีเลกทรอนิกส์ที่มีความทันสมัยและสะดวกต่อการใช้งาน ผสมผสานกับวิธีการทางการตลาดอย่างลงตัว เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรอย่างแท้จริง Kulachatr C.Na Ayudhya
Introduction to e-Commerce • e-Commerce is … “การแลกเปลี่ยนข้อมูลธุรกิจผ่านสื่ออีเล็กทรอนิกส์” • การแลกเปลี่ยนข้อมูลธุรกิจ การแลกเปลี่ยนระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ ระหว่างบุคคลทั่วไปกับธุรกิจ ระหว่างธุรกิจกับรัฐ ระหว่างรัฐกับรัฐ หรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลภายในธุรกิจ และในปัจจุบันการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างรัฐกับประชาชน หรือที่รู้จักกันว่า e-Government • ผ่านสื่ออีเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ สื่อจากฮาร์ดแวร์ เช่น CD สื่ออินเตอร์เนต สื่อ EDI สื่อโทรศัพท์พื้นฐาน สื่อโทรศัพท์เคลื่อนที่ ฯลฯ (อาณัติ ลีมัคเดช , 2545) Kulachatr C.Na Ayudhya
Introduction to e-Commerce • e-Commerce ในปัจจุบันที่ได้รับความนิยมเพราะสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลทางสื่ออินเตอร์เนตได้ เพราะสื่ออินเตอร์เนตเป็นสื่อประหยัด โต้ตอบได้ มีทั้งภาพและเสียง ข้อมูลมีมากมาย และปรับปรุงได้อย่างต่อเนื่อง • E-Commerce ก่อให้เกิดนวัตกรรม 3 ประการ คือ • New Market : ผู้ผลิตสินค้าสามารถจำหน่ายสินค้าของตนเองได้ทั่วโลกโดยไม่ต้องอาศัยคนกลางในอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดตลาดใหม่ขึ้นอย่างมากมาย • New Business Process : เกิดกระบวนการทำงานแบบใหม่ที่อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยควบคุมการทำงานให้สะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึ้น • New Product: เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ภายใต้รูปลักษณะข้อมูลดิจิตอล (Digital thing feature)ที่สามารถส่งผ่านทางด่วนข้อมูลได้ ซึ่งก่อให้เกิดการประหยัด 3 ประการคือ • Marginal Cost = 0 , • Tax = 0 • Transportation cost = 0 Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Business (e-Biz) • การค้าอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมักรู้จักกันในชื่อของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีคอมเมิร์ซ (eCommerce) • ส่วนอีบิสซิเนส (eBusiness) คือการนำเทคโนโลยีมาใช้ในทุกๆกระบวนการของการทำงานในองค์กรธุรกิจทั่วไปและการสร้างกระบวนโต้ตอบและแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์กร • สรุปแล้ว อีคอมเมิร์ซก็คือองค์ประกอบส่วนหนึ่งของอีบิสซิเนสนั่นเอง Kulachatr C.Na Ayudhya ที่มา :ผู้จัดการออนไลน์โดย พงษ์ชัย ศิรินฤมิตร
E-Business ต่างกับ E-Commerce อย่างไร • อีบิสซิเนส (eBusiness): • ใช้ระบบคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพของธุรกิจ โดยการเชื่อมโยงกันในองค์กร (Value chains) • เชื่อมโยงกับคู่ค้า ลูกค้า (Supply Chains)เพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการลดต้นทุน ความเร็ว และประสิทธิภาพ • พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์(eCommerce) • การตลาด • การขาย • ซื้อ-ขาย สินค้า/บริการบน Internet Kulachatr C.Na Ayudhya e-Business is more than selling and marketing online!
E-Marketing Review of Business and Marketing in digital economy or “e-conomy” e-Term definition (วัชรพงศ์ ยะไวทย์ Max Saving Co.,ltd) • e-Commerceหมายถึง การค้าแบบพาณิชย์อีเลกทรอนิกส์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการทำธุรกรรมแบบ e-Business โดยทั่วไปแล้วหมายถึงการค้าแบบ “ซื้อมา-ขายไป” ในส่วนของหน้าร้าน ซึ่งมีด้วยกันหลายลักษณะ คือ • B2C = Business to Consumer • B2B = Business to Business • C2C = Consumer to Consumer • B2G = Business to Government • G2G = Government to Government • B2S = Business to Society Kulachatr C.Na Ayudhya
Introduction to e-Commerce • ประเภทของพาณิชย์อีเล็กทรอนิกส์ Kulachatr C.Na Ayudhya
Introduction to e-Commerce • ประเภทของพาณิชย์อีเล็กทรอนิกส์ • Business to Business ; B2B(ค้าส่ง) • Business to Government ; B2G (e-Procurement) • Business to Consumer ; B2C (ค้าปลีก) • Government to Business ; G2B • Government to Government ; G2G • Government to Consumer ; G2C (e-Government = “e-Revenue”) • Consumer to Business ; C2B • Consumer to Government ; C2G • Consumer to Consumer ; C2C (Direct Marketing) Kulachatr C.Na Ayudhya
สรุป e-Commerce มี 4 ประเภทหลัก ๆ คือ • ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรือ B to B หรือ B2B) • ธุรกิจและลูกค้า (Business to Consumers หรือ B to C หรือ B2C) • ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government หรือ B to G หรือ B2G) • ลูกค้ากับลูกค้า (Consumers to Consumers หรือ C to C หรือ C2C) (รัฐบาลกับรัฐบาล (G2G) และรัฐบาลกับประชาชน (G2C) จึงไม่ถือว่าเป็นธุรกิจเชิงพาณิชย์) EDI B EDI B E-Retailing E-Government G G C C E-Government Kulachatr C.Na Ayudhya E-Community E-Government
E-Marketing New way of Global Marketing in “e-conomy” Importer Old Exporter Normal Way Distributor Wholesaler Retailer Web way E - Exporter Consumer Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing Characteristics Characteristics of E-Marketing • Niche Marketing • Behavioral Segmentation • Personalize Marketing(One-One Marketing) • Dispersion of consumer • All time business • Decision to purchase by information • Marketing activities mix online • Related to traditional MK activities • Low cost Business • Quick response Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing Differentiation from Tradition E-Marketing and Traditional Marketing Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing Differentiation from Tradition E-Marketing and Traditional Marketing Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing Substituted task by e-Marketing Salesman Fax Cashier Courier Catalogs Messenger Dealers Showroom Agents After-sales service PR Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing Goods,Services & Activities • Tangible Products or Hard Goods • Related to Logistics • Cost of Logistics and Warehouse • Intangible Products or Soft Goods • Downloaded Products • Intellectual property aspects • Services • Infomediary services • Web-portal services • Search services • Consulting Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing IT Role in Marketing Activities • Direct Marketing ByE-mail • Free Based , Offender • Permission MK , Opt-In , Opt-Out • Spamming and Spam regulation • Website • Information Search • Catalogs online • Communication and Sales tools • Advertising • Banner and Linking • Promoting web • Web Portal Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing IT Role in Marketing Activities • Catalog Online • Many option or Customization • Updating • not dead site or non-permanent • e-Ordering & e-Payment • Closing sales/e-Purchasing • 3rd Parties (Bank) • e-Logistics & Tracking • Quick Response by back office • Inventory ,Stocking & Available • Customs ceremony and Tax service • Tracking Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing IT Role in Marketing Activities • Mailing List • likewise • Webboard • Forum • Mobile Technology • GPRS (General Packet Radio Service) • WAP (Wireless Application Protocol) • Mobile Payment (Practical ; www.boa.co.th) Kulachatr C.Na Ayudhya
สถิติผู้ใช้อินเทอร์เนตทั่วโลกสถิติผู้ใช้อินเทอร์เนตทั่วโลก Kulachatr C.Na Ayudhya
สถิติผู้ใช้อินเทอร์เนตในประเทศไทยสถิติผู้ใช้อินเทอร์เนตในประเทศไทย 13.6 M http://internet.nectec.or.th Kulachatr C.Na Ayudhya
Introduction to e-Commerce 13.416 M • Internet • APRANET (Advanced Research Projects Agency Network : 2512) • จำนวนผู้ใช้อินเตอร์เนตในโลก http://www.clickz.com/stats/big_picture/geographics/article.php/5911_151151 • จำนวนผู้ใช้อินเตอร์เนตในไทย http://internet.nectec.or.th/webstats/internetuser.iir?Sec=internetuserอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรม พาณิชย์อีเล็กทรอนิกส์ ที่มา : Nectec.or.th,2007 Kulachatr C.Na Ayudhya
Who is online customer • ผู้ที่สามารถเข้าถึงอินเตอร์เนตได้ ได้แก่ ผู้มีฐานะปานกลางถึงดี มีการศึกษา ทำงานในสำนักงาน เอกชน รัฐบาล และเป็นผู้ที่คำนึงถึงการบริโภคสินค้า • กลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เนตเท่านั้นที่จะกลายเป็นผู้ซื้อสินค้าออนไลน์ ผลสรุปในประเทศไทย ได้แก่ • กลุ่มผู้ใช้ส่วนใหญ่มักเป็นผู้ชาย • ส่วนใหญ่เป็นคนโสด วัยศึกษา หรือทำงานตอนต้น • กำลังศึกษาหรือจบการศึกษาระดับ ป.ตรี • อาศัยในกรุงเทพฯ หรือปริมณฑล • มีความรู้ทางภาษาอังกฤษดี และอ่านภาษาอังกฤษได้ • มีผู้ที่เคยซื้อสินค้าออนไลน์ของกลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เนต มักอ้างเหตุผลว่าไม่สามารถจับต้องสินค้าได้และไม่มีบัตรเครดิต • ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ชายที่ซื้อทางอินเตอร์เนต Kulachatr C.Na Ayudhya
Who is online customer • พฤติกรรมกลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เนต (ต่อ) • ชอบความกระชับ รวดเร็ว เข้าถึงสิ่งที่ตนต้องการได้ง่าย • ชอบลองของใหม่ และใช้ของฟรีก่อน (ทดลองใช้ก่อน) • ตื่นตัว ใจร้อน รีบเร่ง • ชอบศึกษาค้นคว้า • ชอบเสี่ยง มั่นใจว่าไม่เสียหายมากมาย • เปรียบเทียบข้อมูลก่อนตัดสินใจซื้อ • ไม่ชอบความซ้ำซาก จำเจ • กลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เนตจะเปลี่ยนมาเป็นผู้ซื้อสินค้าเพราะเหตุผลคือ...On demand , Value , Convenience , Price • กลุ่มผู้ซื้อสินค้าจะกลับมาซื้ออีกครั้งด้วยเหตุผลคือ... • Efficient Consumer Response and Trust Kulachatr C.Na Ayudhya
ผลวิจัยในอเมริกาพบว่า ร้อยละ 81 ที่ซื้อทางอินเตอร์เนตเพราะความสะดวก และมีเพียงร้อยละ 33 เท่านั้นที่ซื้อเพราะราคาประหยัด ผู้บริโภคร้อยละ 59 นิยมซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ที่เคยซื้อเพราะมั่นใจในการบริการ การบริการที่รวดเร็ว และสั้น ผู้บริโภคจะให้ความสำคัญต่อตรายี่ห้อมาก ผู้บริโภคยินดีจ่ายเงินแก่เว็บไซต์ที่มีความน่าเชื่อถือสูงกว่าเว็บไซต์ที่ไม่ค่อยรู้จักแม้ว่าราคาสินค้าจะถูกกว่าก็ตาม ผู้บริโภคบนเว็บไซต์นิยมซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ที่ตนเคย ใช้บริการจากช่องทางปกติมาก่อน Online consumer behavior Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing or Internet MarketingType of Business Model • Brokerage Model • Advertising Model • Infomediary Model • Merchant Model • Manufacturer Model • Affiliate Model • Community Model • Subscription Model • Utility Model • Other Model Kulachatr C.Na Ayudhya
Model • Model หมายถึงรูปแบบ ลักษณะที่กำหนดไว้ มีขั้นตอนชัดเจน เป็นตัวแทนของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เป็นแบบอย่างของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น นางแบบ นายแบบ แบบบ้านจำลอง • Business Model หมายถึง รูปแบบลักษณะของธุรกิจ ซึ่งต้องมีรูปแบบที่ชัดเจน เป็นตัวแทนของธุรกิจนั้นๆ ได้ เช่น รูปแบบธุรกิจค้าปลีก รูปแบบธุรกิจการผลิต รูปแบบธุรกิจบริการ รูปแบบธุรกิจโฆษณา เป็นต้น Kulachatr C.Na Ayudhya
ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Brokerage Website ที่มีรายได้จากค่าบริการในการทำหน้าที่เป็นตัวกลางหรือนายหน้าทางธุรกิจ อาทิ ผู้หาตลาด หาผู้ซื้อ หาผู้ขาย จับคู่ผู้ซื้อ-ผู้ขาย อำนวยให้ผู้ซื้อพบสินค้าหรือบริการที่ต้องการ เป็นต้น e-MarketPlace: Foodmarketexchange.com Buy/Sell Fulfillment: CarsDirect.com Demand Collection System: Priceline.com Auction Broker: e-Bay.com Transaction Broker: PayPal.com Distributor: Questlink.com Search Agent: DealTime.com Virtual Mall: ChoiceMall.com Back Kulachatr C.Na Ayudhya
ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Advertising Website ที่ทำหน้าที่กระจายข้อมูลข่าวสาร โฆษณาประชาสัมพันธ์ และอาจมีบริการเสริมอื่นๆ เช่น free email, chat, forums, text link, banner, bubble ads เป็นต้น เพื่อดึงดูดให้มีผู้เข้ามาเยี่ยมชม website มาก สร้าง traffic ให้สูงเพื่อขายพื้นที่ในการโฆษณาให้ได้ Portal: yahoo.com Personalized portal: MyYahoo! Niche portal: iVillage.com Classifieds: Match.com Registered users: NYTimes.com Query-based paid placement: Google.com Back ปัจจัยในความสำเร็จของธุรกิจในกลุ่มนี้ได้แก่การสร้างจุดเด่นที่แตกต่างจากธุรกิจในแนวเดียวกัน ในขณะที่สามารถควบคุมต้นทุนได้ ตัวอย่างของธุรกิจที่หารายได้จากค่าโฆษณาที่ยังคงสามารถทำกำไรได้ คือ Yahoo! ซึ่งเป็นเว็บท่า (Portal Site) ที่มีชื่อเสียงมานานและมีต้นทุนในการสร้างเนื้อหาน้อย เนื่องจากใช้วิธีการเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาของผู้อื่น นอกจากนี้ยังมีอีกตัวอย่างหนึ่งที่น่าสนใจ คือ GreaterGood ซึ่งเป็นตัวอย่างของธุรกิจที่หารายได้จากการแนะนำลูกค้าให้แก่เว็บไซต์อื่นๆ ซึ่งคล้ายกับการหารายได้จากค่าโฆษณา Kulachatr C.Na Ayudhya
ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Infomediary (information intermediary) DoubleClick.com Nielsen.com Greenpoints.com Edmunds.com ,ศูนย์วิจัยกสิกรไทย Website ที่มีลักษณะเป็นตัวกลางข้อมูลข่าวสารจากผู้ผลิตถึงผู้บริโภค รวบรวมเพื่อนำเสนอข้อมูลทุกอย่างที่เป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภคเพื่อประกอบการตัดสินใจซื้อ และเป็นตัวกลางระหว่างผู้บริโภคถึงผู้ผลิต ได้แก่ การรวบรวมศึกษาพฤติกรรมการท่องอินเตอร์เน็ตของผู้บริโภคเพื่อนำมาวิเคราะห์การออกแบบกิจกรรมทางการตลาดในอินเตอร์เน็ตให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น แยกในแต่ละธุรกิจ สินค้า บริการ ฯลฯ The Company Moneyextra Limited, who are owned by Bristol and West plc, is in the process of evolving from a financial infomediary website to a multi channel advice based company, offering financial advice to customers via the internet and a telephone contact centre with the aim of allowing customers to take control of their financial decisions. Back Kulachatr C.Na Ayudhya
ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Merchant Website ของผู้ค้าปลีก-ค้าส่ง ที่ทำการขายสินค้าหรือบริการ ราคาอาจมีตั้งแต่ขายจากราคาที่กำหนด จนถึงไม่กำหนดราคา เช่น การประมูล Virtual Merchant (e-Tailer): Click and Mortar: Catalog Merchant: winstore.net Bit Vendor: jimmysoftware.com Back ปัจจัยในความสำเร็จของโมเดลทางธุรกิจค้าปลีก-ค้าส่งในอินเตอร์เน็ตมักจะขึ้นอยู่กับความ สามารถในการจัดการส่งสินค้าและให้บริการหลังการขายให้แก่ลูกค้า เราจึงพบว่าธุรกิจค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งไม่มีร้านค้าทางกายภาพมีแนวโน้มที่จะต้องสร้างร้านค้าหรือคลังสินค้าขึ้นด้วยจนกลายเป็นธุรกิจที่เรียกว่า Click-and-Mortar หรืออาจใช้วิธีการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจกับร้านค้าปลีกแบบเดิม Kulachatr C.Na Ayudhya
ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Manufacturer โดยอาศัยพลังของอินเตอร์เน็ตช่วยให้ผู้ผลิตเข้าถึงผู้ซื้อหรือผู้ใช้โดยตรงโดยข้ามคนกลางทางการค้าไป (ตัดตอนตัวกลาง) นอกจากช่วยให้เกิดการซื้อขายได้อย่างกระชับ ยังช่วยเรื่องการให้บริการลูกค้า การรับรู้ความต้องการของลูกค้าโดยตรง เพื่อนำกลับไปพัฒนาสินค้า-บริการให้ดียิ่งขึ้นต่อไป Dell.com Apple.com Kingscollections.com PINN-Stitch.com Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing or Internet MarketingType of e-Business • Case Study ; www.king-collection.com Kulachatr C.Na Ayudhya
E-Marketing or Internet MarketingType of e-Business • Case Study ; www.king-collection.com Kulachatr C.Na Ayudhya
ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท B2C (Manufacturer Direct) Back กระบวนการ Supply Chain แบบเดิม ผู้นำเข้า ตัวแทนจำหน่าย ร้านค้าปลีก กระบวนการ Supply Chain แบบใหม่ ผู้ซื้อ ผู้ผลิต website Kulachatr C.Na Ayudhya
ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Affiliate Website ที่ช่วยสร้างโอกาสในการซื้อขายใน page หรือ web ซึ่งบุคคลมีการเยี่ยมชมและได้รับค่าตอบแทนการช่วยขาย มักเป็นรูปแบบจากสัดส่วน % จากยอดซื้อ Back Kulachatr C.Na Ayudhya
ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Community Weekendhobby.com CNN.com Experts.com Website ที่มีลักษณะเป็นสังคมเฉพาะกลุ่มที่ผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการในข้อมูลเหมือนกันหรือมีความชื่นชอบเดียวกันมารวมกลุ่มแลกเปลี่ยน อาทิ site สำหรับสินค้ามือสอง หรือสำหรับนักพัฒนาโปรแกรม สถานีข่าว หรือเครือข่ายความรู้เพื่อการศึกษา เป็นต้น Back Kulachatr C.Na Ayudhya
ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Subscription Website ที่มีรายได้เรียกเก็บจากสมาชิกตามช่วงเวลา รายวัน สัปดาห์ เดือน ปี หรือในกรณีตอบรับบริการใดๆ อาทิสมาชิกอินเตอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ หนังสือ ดนตรี วิดีโอ AOL.com Listen.com JobsDB.com ข้อมูลตลาดงาน Back ปัจจัยในความสำเร็จของธุรกิจที่จะสามารถหารายได้จากค่าสมาชิกได้ก็คือ การมีสารสนเทศหรือบริการที่มีคุณภาพที่ดีพอที่จะทำให้ลูกค้ายอมจ่ายค่าสมาชิกดังกล่าว เช่น ต้องมีสารสนเทศที่แตกต่างจากผู้ประกอบการรายอื่น (Wall Street Journal หรือ Business Online) หรือใช้กลยุทธ์ทางการตลาดในการรักษาฐานลูกค้าไว้ เช่น AOL รักษาฐานลูกค้าของตนด้วยหมายเลขอีเมล์หรือหมายเลข ICQ ซึ่งลูกค้าที่ใช้บริการไปแล้วระยะหนึ่งไม่ต้องการเปลี่ยนแปลง ธุรกิจที่มีรายได้จากสมาชิกยังสามารถใช้ฐานลูกค้าของตนที่มีอยู่ขยายต่อไปยังธุรกิจต่อเนื่องอื่นๆ เช่น AOL ใช้ฐานสมาชิกของตนในการหารายได้จากการโฆษณาออนไลน์และธุรกิจค้าปลีก Kulachatr C.Na Ayudhya