610 likes | 764 Views
แนวทางแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ. ปีงบประมาณ ๒๕๕๖. “ ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงที่ไร้รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการ ” ”. การจัดผังบริการสุขภาพที่เป็นเครือข่ายแบบเบ็ดเสร็จ. ขนาดพื้นที่และจำนวนประชากร จังหวัดปทุมธานี.
E N D
แนวทางแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพแนวทางแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖
“ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงที่ไร้รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการ””
การจัดผังบริการสุขภาพที่เป็นเครือข่ายแบบเบ็ดเสร็จการจัดผังบริการสุขภาพที่เป็นเครือข่ายแบบเบ็ดเสร็จ
ขนาดพื้นที่และจำนวนประชากร จังหวัดปทุมธานี พื้นที่รวม ๑,๕๒๐.๘๖ ตร.กม. N ประชากรรวม ๙๓๙,๙๔๒ คน ๕๑,๙๕๔ คน หนองเสือ ๒๒๐,๓๙๓ คน ๕๕,๐๕๒ คน คลองหลวง ๕๘,๙๓๐ คน สามโคก ๑๓๖,๒๖๗ คน ลาดหลุมแก้ว ธัญบุรี ๑๘๑,๑๙๖ คน ๒๓๖,๑๕๐ คน เมือง ลำลูกกา ข้อมูล : โปรแกรม JHCIS & Hosxp(๓๑ ส.ค. ๕๕)
จำนวนประชากรจำแนกตามสิทธิ์ประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี
หน่วยบริการปฐมภูมิ จังหวัดปทุมธานี จำนวน ๗๙ แห่ง ศสม. ๒ แห่ง P๑ L รพสต.ขนาดใหญ่ ประชากร >๘,๐๐๐ ๒๖ แห่ง P๒ M รพสต.ขนาดกลาง ประชากร ๓,๐๐๐ -๘,๐๐๐ ๔๐ แห่ง P๓ S รพสต.ขนาดเล็ก ประชากร <๓,๐๐๐ ๑๑ แห่ง หนองเสือ P๓ L ๑ M ๗ คลองหลวง สามโคก S ๑ L ๖ L ๑ M ๖ ลาดหลุมแก้ว M ๕ L ๑ S ๕ ธัญบุรี M ๕ L ๒ เมือง S ๕ ๒ ลำลูกกา M ๑ L ๖ L ๙ M ๗ M ๙
หน่วยบริการทุติยภูมิ-ตติยภูมิ จังหวัดปทุมธานี จำนวน ๘ แห่ง N F๒ รพ.หนองเสือ F๒ F๓ รพ.คลองหลวง F๒ รพ.สามโคก รพ.ธัญบุรี M๒ รพ.ลาดหลุมแก้ว S รพ.ประชาธิปัตย์ F๒ F๒ รพ.ปทุมธานี รพ.ลำลูกกา
การใช้บริการผู้ป่วยนอก ปี ๒๕๕๕ จังหวัดปทุมธานี
การใช้บริการผู้ป่วยใน ปี ๒๕๕๕ จังหวัดปทุมธานี
Sum adj.RWและ CMIปี ๒๕๕๔-๒๕๕๕ จังหวัดปทุมธานี
เป้าหมาย ๑. ลดอัตราป่วย ๒. ลดอัตราตาย ๓. มาตรฐานการบริการ ๔. เข้าถึงบริการ ๕. ลดค่าใช้จ่าย
กรอบการพัฒนาขีดความสามารถของระบบบริการ ๑๐ สาขา ๑. หัวใจและหลอดเลือด ๒. มะเร็ง ๓. มารดาและทารกแรกเกิด ๔. อุบัติเหตุ ๕. จิตเวช ๖. สาขาหลัก (สูติ-นรีเวชกรรม ศัลยกรรม อายุรกรรม กุมารเวชกรรมออร์โธปิดิกส์) ๗. บริการสุขภาพองค์รวม ๘. ทันตกรรม ๙. ไต ๑๐. ตา ๑๑. เพิ่มเติม : โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
กลยุทธ์ในการดำเนินการกลยุทธ์ในการดำเนินการ ๑ ๒ ๑ แผน ๒ แผน ๑) การบริหารจัดการ ๒) การพัฒนาระบบการ บริหารจัดการเครือข่าย บริการสุขภาพ (พบส.) - ๑๐ สาขา+ปัญหาในพื้นที่ ๓) HR - พยาบาล NP - พยาบาลจิตเวช - พยาบาลล้างไต - พยาบาลดมยา - หมอเวชศาสตร์ครอบครัว - นักวิชาการประเมินผลการวิจัย ฯลฯ ๔) การลงทุน (Investment) - ก่อสร้าง - ครุภัณฑ์
ตัวชี้วัด (ระยะ ๑ ปี) เครือข่ายมีระบบพัฒนา Service Planที่มีการดำเนินการได้ตามแผน ระดับ ๑ ๒ ๓ ๔ อย่างน้อย ๔ สาขา และตัวชี้วัดอื่น (๖ สาขา) ตามที่กำหนด ระดับ ๑ มีคณะกรรมการ/ผู้เชี่ยวชาญของเครือข่ายบริการตามกลุ่มบริการ ระดับ ๒ มีการวิเคราะห์ปัญหาในแต่ละกลุ่มบริการที่เป็นส่วนขาดของสถานบริการสุขภาพแต่ละระดับ และเชื่อมโยงกับเครือข่ายบริการ ระดับ ๓ มีการจัดทำแผนพัฒนาศักยภาพระบบบริการ โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการ/ผู้เชี่ยวชาญจากเครือข่ายบริการสุขภาพ ระดับ ๔ มีการบริหารจัดการ ให้เป็นไปตามแผนพัฒนาศักยภาพระบบบริการของเครือข่ายบริการ
เป้าหมาย ๑๐ สาขา ระดับกระทรวง
เป้าหมาย ๑๐ สาขา (ระดับกระทรวง) ๑.๑ หัวใจ ๑) ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันได้รับการรักษาด้วยการเปิดเส้นเลือด ด้วยการให้ยา Fibrinolytic Agent หรือขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน หรือได้รับการส่งต่อเพื่อให้ยาละลายลิ่มเลือด/ทำบอลลูนขยายเส้นเลือด = หรือ >ร้อยละ ๕๐ ในปี ๒๕๕๖, >80% ในปี ๒๕๕๘ ๒) ผู้ป่วย STEMIเสียชีวิต = หรือ <ร้อยละ ๑๐ ในปี ๒๕๕๘ (Hos.Base)
เป้าหมาย ๑๐ สาขา (ระดับกระทรวง) ๑.๒ หลอดเลือดสมอง ๑) มีStroke Unit ทุก รพ. ระดับ Aเป็นอย่างน้อย และ รพ.ระดับS ที่พร้อม ๒) ระดับ S, M1ทุก รพ. สามารถให้ Thrombolyticagentได้ใน ๑ปี และมีจำนวนผู้ป่วยมากขึ้น ตามลำดับทุกปี
เป้าหมาย ๑๐ สาขา (ระดับกระทรวง) ๒. มะเร็ง ๑) ภาคอีสานมีไข่พยาธิใบไม้ตับ <๑๐% ใน ๕ ปี (๒๕๖๐) ทุกจังหวัด ประเมินผลทุก ๑-๒ ปี โดยExternal Audit ๒)สตรีไทยมีการตรวจเต้านม จนสามารถพบมะเร็งระยะ ๑-๒ > หรือ = ๘๐% ในปี ๒๕๕๗ และเพิ่มขึ้นทุกปี ๓)ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก >๘๐% ใน ๓ ปี ๔) คิวระยะฉายแสงลดลงกว่า ๕๐% ใน ๓ ปี
เป้าหมาย ๑๐ สาขา (ระดับกระทรวง) ๓. มารดาและ ทารกแรกเกิด ๑. มีNICUตามเกณฑ์เพียงพอ จนไม่มีการ Referนอกจังหวัด นอกเครือข่าย ตามชนิดคนไข้ ใน ๓ ปี
เป้าหมาย ๑๐ สาขา (ระดับกระทรวง) ๔. อุบัติเหตุ ๑) ทุก รพ.ได้มาตรฐาน ๑,๒,๓,๔ ตามที่กำหนด ใน ๓-๕ ปี ๒) การตายใน รพ.ที่มีการให้ PS (>๐.๗๕) ตายน้อยกว่า ๓๐% ใน ๑-๓ ปี และทุกราย ที่ตายต้องถูกทบทวน (ระยะยาว ๕ ปี ๒๕๖๐ ลดตายต่อแสน ลดปีละ ๑ ต่อแสน)
เป้าหมาย ๑๐ สาขา (ระดับกระทรวง) ๕. จิตเวช ๑) มีจิตเวชบริการทุกระดับ ตามมาตรฐาน ใน ๕ ปี อย่างมีเป้าหมายเป็นระยะทุกปี ทุกระดับ รพ.
เป้าหมาย ๑๐ สาขา (ระดับกระทรวง) ๖. สาขาหลัก ๑) มีการกระจายการผ่าตัดผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบ ออกจาก รพศ. (A) ไปยัง รพ.ในเครือข่าย ที่เครือข่ายเป็นผู้กำหนด >๕๐% ใน ๒ ปี ๒) ลดอัตรามารดาตาย ไม่เกิน ๒๐ ต่อแสนการเกิดมีชีพ ภายใน ๕ปี (ปัจจุบัน ๓๐ ต่อแสนการเกิดมีชีพ) ๓) CMIรายแผนก มีระบบจัดการตามเป้าหมาย เพื่อกระจายผู้ป่วยที่ไม่มีความจำเป็นหรือส่งกลับไปรักษา รพ.เป้าหมาย
เป้าหมาย ๑๐ สาขา (ระดับกระทรวง) ๗. บริการองค์รวม ๑) มี ศสม. ตามเกณฑ์มาตรฐาน ได้ครอบคลุมประชากรในเขตเมืองทั้งหมด อย่างได้มาตรฐาน ใน ๓-๕ ปี ๒)OPใน รพ.ระดับ A,S,M๑,M๒,F๑,F๒อย่างน้อยไม่เพิ่มขึ้น ในปี ๒๕๕๖ และลดลง ๓๐% ใน ๕ ปี ๓) สัดส่วน OPDผู้ป่วยเรื้อรัง ดูแลใน รพ.สต., ศสม. >๕๐% ภายใน ๓ปี
เป้าหมาย ๑๐ สาขา (ระดับกระทรวง) ๘. ทันตกรรม ๑) มีการจัดบริการทันตสุขภาพโดยทันตแพทย์และ/หรือทันตาภิบาล ใน ศสม.ทุกแห่ง ใน ๑ ปี และพัฒนาดีขึ้น ตามลำดับ ๒) ใน รพ.สต. มีบริการทันตสุขภาพเพียงพอและเข้าถึง ใน ๓-๕ ปี ตามแผนที่เครือข่ายดำเนินการ พร้อมเครื่องมือที่เหมาะสม
เป้าหมาย ๑๐ สาขา (ระดับกระทรวง) ๙. ไต ๑) มี CKD Clinic ตั้งแต่ระดับ F๑ขึ้นไปเป็นอย่างน้อย ใน ๑ ปี และพัฒนาดีขึ้นตามลำดับ ๒) คิวบริการ HD, CAPDมีบริการอย่างไม่มีคิว ใน ๓ ปี
เป้าหมาย ๑๐ สาขา (ระดับกระทรวง) ๑๐. ตา ๑) ระยะเวลารอคอย Cataract(๑๐/๒๐๐) <๓๐วัน ๒) ระยะเวลารอคอย Cataract Low Vision(๒๐/๗๐) <๙๐วัน
เป้าหมาย ๑๐ สาขา (ระดับกระทรวง) ๑๑. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCD) ๑) มี CQIในทุกระดับ ในตัวชี้วัดหลัก (ควบคุมน้ำตาล, ความดันได้ดีกว่าปีที่ผ่านมา ปีละ ๓-๕%)
เป้าหมาย ๑๐ สาขา ระดับเครือข่ายบริการที่ ๔
๑.๑ หัวใจ เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
๑.๑ หัวใจ (ต่อ) เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
๑.๑ หัวใจ (ต่อ) เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
๑.๒ หลอดเลือดสมอง เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
๑.๒ หลอดเลือดสมอง (ต่อ) เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
๒. มะเร็ง (ปากมดลูก, เต้านม, ลำไส้, ปอด, ท่อน้ำดี และตับ) เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
ระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็งระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง
๓. มารดาและทารกแรกเกิด เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
ระบบบริการสุขภาพสาขามารดาและทารกแรกเกิดระบบบริการสุขภาพสาขามารดาและทารกแรกเกิด
๔. อุบัติเหตุ เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
๔. อุบัติเหตุ (ต่อ) เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
ระบบบริการสุขภาพสาขาอุบัติเหตุระบบบริการสุขภาพสาขาอุบัติเหตุ กำหนดตัวชี้วัดคุณภาพ แผนการส่งต่อภายในเครือข่าย
๕. จิตเวช (จิตเภท, วิตกกังวล, ซึมเศร้า, ปัญญาอ่อน, ออทิสติก, สมาธิสั้น ADHD, ภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ LD, Dementia, Alcohol dependence disorder, Substance used disorder) เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
๖. สาขาหลัก เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔) (สูติ-นรีเวชกรรม, ศัลยกรรม, อายุรกรรม และออร์โธปิดิกส์)
๖. สาขาหลัก (ต่อ) เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔) (สูติ-นรีเวชกรรม, ศัลยกรรม, อายุรกรรม และออร์โธปิดิกส์)
ระบบบริการสุขภาพสาขาหลัก (สูติ-นรีเวชกรรม, ศัลยกรรม, อายุรกรรม และออร์โธปิดิกส์) ปัญหา งานสาขาหลัก
๖. สาขาหลัก (ต่อ) (กุมารเวชกรรม) เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
๖. สาขาหลัก (ต่อ) (กุมารเวชกรรม) เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
๗. สาขาบริการสุขภาพองค์รวม เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)
ระบบบริการสุขภาพสาขาบริการสุขภาพองค์รวมระบบบริการสุขภาพสาขาบริการสุขภาพองค์รวม • เป้าหมาย :พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอได้มาตรฐาน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ แผนพัฒนาบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ แผนลงทุน วัสดุ/ครุภัณฑ์/เครื่องมือ + + แผนกำลังคน ปี ๒๕๕๗ เน้นบริการ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยจิตเวช และผู้ป่วยระยะสุดท้าย
๘. สาขาทันตกรรม เป้าหมาย ๑๐ สาขา (เครือข่ายบริการที่ ๔)