220 likes | 380 Views
บทสรุปกรณีการแบ่งพื้นที่ปฏิบัติงาน ของศูนย์สุขภาพจิต. เขตตรวจราชการ และศูนย์สุขภาพจิต. เขตตรวจราชการแบบเดิม หน้าที่ตรวจราชการในแต่ละจังหวัด ศูนย์สุขภาพจิต 14 แห่ง + ศูนย์ตรัง มีหน้าที่ปฏิบัติงานและดำเนินการ ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง (หน่วยปฏิบัติ). กลุ่มจังหวัด และศูนย์สุขภาพจิต.
E N D
บทสรุปกรณีการแบ่งพื้นที่ปฏิบัติงานของศูนย์สุขภาพจิตบทสรุปกรณีการแบ่งพื้นที่ปฏิบัติงานของศูนย์สุขภาพจิต
เขตตรวจราชการและศูนย์สุขภาพจิตเขตตรวจราชการและศูนย์สุขภาพจิต • เขตตรวจราชการแบบเดิม หน้าที่ตรวจราชการในแต่ละจังหวัด • ศูนย์สุขภาพจิต 14 แห่ง + ศูนย์ตรัง มีหน้าที่ปฏิบัติงานและดำเนินการ ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง (หน่วยปฏิบัติ)
กลุ่มจังหวัดและศูนย์สุขภาพจิตกลุ่มจังหวัดและศูนย์สุขภาพจิต • กลุ่มจังหวัด 18 กลุ่ม - - แบ่งตามพื้นที่เศรษฐกิจ - หน้าที่ตรวจราชการในแต่ละกลุ่ม จังหวัด (ผู้ตรวจฯ + สธน = 18 คน ) • ศูนย์สุขภาพจิต 14 แห่ง + ศูนย์ตรัง มีหน้าที่ปฏิบัติงานและดำเนินการ ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง (หน่วยปฏิบัติ)
สรุปประเด็นต่างๆ ที่ใช้พิจารณา • หน้าที่ของการตรวจราชการในกลุ่มจังหวัดและการปฏิบัติงานของศูนย์สุขภาพจิตมีความแตกต่างกัน (หน่วยงานตรวจราชการและประสาน VS หน่วยงานดำเนินการปฏิบัติ) • การแบ่งพื้นที่ในการดำเนินงานภาคปฏิบัติต้องการความคล่องตัว ในการทำงาน (โดยเฉพาะพื้นที่ภาคใต้) • อธิบดีมีนโยบาย – “..ต้องการให้บุคลากรทำงานอย่างมีความสุข..” • ศูนย์ ฯ 15 ต้องรับผิดชอบ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ภาระมาก) • การแบ่งเขตแบบกลุ่มจังหวัดอาจจะเปลี่ยนแปลงในอนาคต (ถ้าต้องการให้ทุกกลุ่มจังหวัดมีศูนย์สุขภาพจิต – ต้องตั้งศูนย์ขึ้นใหม่ ต้องมีการจัดสรรทรัพยากร คน, เงิน, อุปกรณ์ และอาคารสถานที่)
ข้อสรุป • ให้ศูนย์สุขภาพจิตรับผิดชอบ ตามพื้นที่เดิม • ในกรณีศูนย์สุขภาพจิต (เฉพาะแห่ง) ต้องการปรับเปลี่ยนเพื่อให้เกิดความคล่องตัว จะมีการพิจารณาเป็นกรณีๆ ไป ตัวอย่างเช่น ศูนย์สุขภาพจิตที่ 8 และ 9 เป็นต้น
ยุทธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิตยุทธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิต
เพื่อความสุขที่ยั่งยืนเพื่อความสุขที่ยั่งยืน ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึง บริการ สุขภาพจิต และให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต 1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติที่ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพจิตและผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแลสุขภาพจิต รวมทั้งได้รับการยอมรับในการดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคม - รณรงค์สร้างความตระหนักและความรู้แก่ประชาชน - ผลักดันให้สังคมยอมรับ / ให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต - สนับสนุนการเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกระบบสาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิต เป้าประสงค์ - พัฒนาเครือข่ายในระบบบริการสาธารณสุข - สร้างและพัฒนาเครือข่ายนอกระบบบริการสาธารณสุข 2. เครือข่ายมีการบูรณาการงานสุขภาพจิตเข้ากับงานของตนเอง และสามารถให้การดูแลสุขภาพจิตแก่ประชาชนได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาความเชี่ยวชาญสู่การเป็นศูนย์กลางทางวิชาการด้านสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและความเป็นเลิศเฉพาะทางด้านบริการจิตเวช เป้าประสงค์ • จัดตั้งคลังความรู้ทางวิชาการด้านสุขภาพจิต- พัฒนามาตรฐานและคุณภาพ งานวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้- ศึกษา วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้- พัฒนาการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ ในรูปแบบที่หลากหลาย- พัฒนาความร่วมมือทางวิชาการสุขภาพจิตในต่างประเทศ 3. กรมสุขภาพจิตเป็นศูนย์กลางการพัฒนาวิชาการด้านสุขภาพจิตทั้งในระดับประเทศและในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 4. หน่วยบริการจิตเวชมีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ - พัฒนาคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ HA- พัฒนามาตรฐานในระดับตติยภูมิ- พัฒนาความเป็นเลิศเฉพาะทาง (Excellence Center) ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรและสมรรถนะบุคลากร - บังคับใช้กฎหมายสุขภาพจิต เพื่อขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต- พัฒนาระบบสารสนเทศสุขภาพจิต- พัฒนากระบวนการบริหารจัดการและการสื่อสารนโยบายฯ- พัฒนาประสิทธิภาพขององค์กร- พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร เป้าประสงค์ 5. การบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากรมีประสิทธิภาพ แผนที่ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต
เพื่อความสุขที่ยั่งยืนเพื่อความสุขที่ยั่งยืน ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึงบริการ สุขภาพจิต และให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต 1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพจิตและผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแลสุขภาพจิต รวมทั้งได้รับการยอมรับในการดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคม เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกระบบสาธารณสุขใน การดำเนินงานสุขภาพจิต 2. เครือข่ายมีการบูรณาการงานสุขภาพจิต เข้ากับงานของตนเอง และสามารถให้การดูแลสุขภาพจิตแก่ประชาชนได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาความเชี่ยวชาญสู่ การเป็นศูนย์กลางทาง วิชาการด้านสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพ มาตรฐานและความ เป็นเลิศเฉพาะทางด้าน บริการจิตเวช 3. กรมสุขภาพจิตเป็นศูนย์กลางการพัฒนาวิชาการด้านสุขภาพจิต ทั้งในระดับประเทศและในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 4. หน่วยบริการจิตเวชมีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหาร องค์กรและสมรรถนะบุคลากร 5. การบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากรมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนฯ 10 ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแล สุขภาพจิตเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 2ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกระบบ สาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาความเชี่ยวชาญสู่การเป็นศูนย์กลางทางวิชาการ ด้านสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและความเป็นเลิศเฉพาะทาง ด้านบริการจิตเวช ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหาร องค์กรและสมรรถนะบุคลากร
เป้าประสงค์หลัก แผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี.... มีความรู้ ความเข้าใจในความสำคัญของสุขภาพจิต มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต สามารถดูแลและจัดการกับปัญหาสุขภาพจิต ทั้งของตนเอง ครอบครัว และผู้อื่นในชุมชนได้ อันจะนำไปสู่ การอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขที่ยั่งยืน
เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดการดำเนินงานตามเป้าหมายเมื่อสิ้นสุดการดำเนินงานตาม แผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตช่วงแผนฯ 10 1. ประชาชนร้อยละ 70 มีสุขภาพจิตดี 2. ประชาชนร้อยละ 70 มีความสามารถในการจัดการกับ ความเครียดได้อย่างเหมาะสม 3. อัตราการฆ่าตัวตายลดลงเหลือไม่เกิน 6.5 ต่อแสนประชากร
ภาวะวิกฤตด้านการเมืองในประเทศไทย ปี 2551 ปัจจัยในการพิจารณากรอบยุทธศาสตร์สุขภาพจิตคนไทยในช่วงภาวะวิกฤต
ภาวะวิกฤตด้านการเมืองในประเทศไทย ปี 2551
ปัจจัยในการพิจารณากรอบยุทธศาสตร์สุขภาพจิตคนไทยในช่วงภาวะวิกฤตปัจจัยในการพิจารณากรอบยุทธศาสตร์สุขภาพจิตคนไทยในช่วงภาวะวิกฤต
ปัจจัยในการพิจารณากรอบยุทธศาสตร์สุขภาพจิตคนไทยในช่วงภาวะวิกฤตปัจจัยในการพิจารณากรอบยุทธศาสตร์สุขภาพจิตคนไทยในช่วงภาวะวิกฤต • ประเมินภาวะสุขภาพจิตและสถานการณ์ในแต่ละเดือน • การประเมินอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง • จังหวะเวลาการใช้เครื่องมือ / เทคโนโลยี • วัฒนธรรมของคนในแต่ละพื้นที่ของประเทศไทย • เครือข่ายทั้งภาครัฐอื่นๆ และภาคเอกชน • ต้องสนธิกำลังหน่วยงานในกรมสุขภาพจิตทั้งหมด
ต.ค.51 พ.ย.51 ธ.ค.51 ม.ค.52 ก.พ.52 มี.ค.52 • การแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจ • จัดการภายใน.. สื่อสาร / ประชาสัมพันธ์ / สร้างความเข้าใจ ฯลฯ • วางกลยุทธ์ระยะสั้น(เฉพาะหน้า),ระยะยาวและภาวะฉุกเฉิน • องค์ความรู้ / เทคโนโลยีที่เหมาะสม ... มีอะไรบ้าง • จังหวะเวลาการใช้เทคโนโลยีสอดคล้องกับเหตุการณ์ในรอบเดือน... เช่น สัปดาห์สุขภาพจิตแห่งชาติ , วันเฉลิมพระชนม์พรรษา 5 ธันวามหาราช, วันคริตมาส, วันปีใหม่, วันมาฆบูชา, ฯลฯ • องค์ความรู้ / เทคโนโลยีจากหน่วยงานอื่นๆ (นอกกรมสุขภาพจิต) เช่น กรมศาสนา เป็นต้น
ต.ค.51 พ.ย.51 ธ.ค.51 ม.ค.52 ก.พ.52 มี.ค.52 ประเมินสถานการณ์ในแต่ละเดือน • ข่าวจากสื่อมวลชนต่างๆ / โพลจากหน่วยงานต่างๆ • ระดมสมอง... / ข้อมูลด้านต่างๆ