330 likes | 1.55k Views
บทที่ 2. การวิเคราะห์งาน ( Job analysis). ความหมาย : กระบวนการศึกษารายละเอียดของงานทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เกี่ยวกับงาน ในด้านเนื้อหาของงานและประเภทของบุคคลที่จำเป็นเพื่อการทำงาน ความรับผิดชอบในการวิเคราะห์งาน - พนักงานเจ้าของตำแหน่ง
E N D
บทที่ 2 การวิเคราะห์งาน (Job analysis)
ความหมาย : กระบวนการศึกษารายละเอียดของงานทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เกี่ยวกับงาน ในด้านเนื้อหาของงานและประเภทของบุคคลที่จำเป็นเพื่อการทำงาน ความรับผิดชอบในการวิเคราะห์งาน - พนักงานเจ้าของตำแหน่ง - ผู้บังคับบัญชา - ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์
ข้อมูลที่ต้องรวบรวมเพื่อการวิเคราะห์งานข้อมูลที่ต้องรวบรวมเพื่อการวิเคราะห์งาน ● กิจกรรมที่เกี่ยวกับงาน : กิจกรรมย่อย บันทึกกิจกรรม ระเบียบวิธีปฏิบัติ ● กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพนักงานที่จะต้องสนใจ/ทุ่มเทเป็นพิเศษ : พฤติกรรมบุคคล ความต้องการของงานนั้น ๆ ● เครื่องจักร อุปกรณ์เครื่องมือ ● ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่เห็นเป็นนามธรรมและรูปธรรม
: ความรู้ที่ต้องใช้ : วัตถุดิบ : ผลผลิตที่ได้/บริการที่จำเป็นต้องปฏิบัติ ผลงาน : ข้อผิดพลาด มาตรฐานการปฏิบัติงาน เวลาที่ใช้ในการทำงาน ● ส่วนประกอบของงาน : ตารางเวลา การจ่ายค่าตอบแทน สถานภาพการทำงาน และจูงใจ ความต้องการที่เกี่ยวกับบุคคลสำหรับงานนั้น : คุณลักษณะของบุคคล : การศึกษา/การฝึกอบรม : ประสบการณ์
ขั้นตอนในการวิเคราะห์งานขั้นตอนในการวิเคราะห์งาน 1. ระบุข้อมูลที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ 2. สำรองภูมิหลังขององค์การ 3. เลือกตำแหน่งงานตัวอย่างเพื่อนำมาวิเคราะห์ 4. วิเคราะห์งานจากกิจกรรมของงาน ฯลฯ 5. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวกับหน้าที่งาน
- ความเหมือนกันของงาน - จำนวนผู้ทำงาน - หน้าที่ต่าง ๆ - เครื่องมือที่ใช้ - การดำเนินงาน - สภาพต่าง ๆ ของงาน - ค่าตอบแทน - ความสัมพันธ์กับงานต่าง ๆ - ประสบการณ์ - ความต้องการทางอารมณ์/ลักษณะนิสัย
เทคนิคที่ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลเทคนิคที่ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูล - การสัมภาษณ์ - การตอบแบบสอบถาม - การสังเกต - การใช้บันทึกการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน - การประชุมทางเทคนิค
ข้อมูลสำคัญที่ได้จากการวิเคราะห์งานข้อมูลสำคัญที่ได้จากการวิเคราะห์งาน - คำบรรยายลักษณะงาน (Job Description : JD) - คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน (Job Specification :JS) - การประเมินค่างาน (Job Evaluation : JE) - การแยกประเภทงาน (Job Classification : JC) - เทคนิคการออกแบบงาน (Job Design)
● คำบรรยายลักษณะงาน : การอธิบายให้ทราบว่างานนั้นคืออะไร มีหน้าที่งานและความรับผิดชอบอะไรบ้าง อาจมีรายละเอียด ดังนี้ - ชื่อตำแหน่งงาน - ที่ตั้งของงาน - ประสบการณ์ - เนื้อหาของงานโดยย่อ - การฝึกอบรม - ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ - เครื่องจักรอุปกรณ์ - วัตถุดิบ - การบังคับบัญชา - ภัยอันตรายที่เกี่ยวข้องกับ งาน
6. พัฒนาคำบรรยายลักษณะงาน แนวทางการเขียนคำบรรยายลักษณะงาน : ชัดเจนเข้าใจง่าย : ชี้ขอบเขตของอำนาจหน้าที่ : ใช้คำพูดที่ชี้เฉพาะแสดงถึงการกระทำที่ชัดเจน : ข้อความสั้น ถูกต้อง เป็นไปตามวัตถุประสงค์ : ตรวจสอบซ้ำว่ามีเนื้อหาครบถ้วนหรือไม่
คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน : ข้อความที่บรรยายถึงระดับของปัจจัยที่เป็นคุณสมบัติผู้ทำงานจะต้องมีอย่างเพียงพอ : การศึกษา : ประสบการณ์ : การอบรม : การใช้ดุลยพินิจ : ความคิดริเริ่ม : การใช้แรงกาย : ความชำนาญการทางด้านร่างกาย : ความรับผิดชอบ : ความสามารถเชิงติดต่อสื่อสาร : ลักษณะอารมณ์ : ความสามารถของโสตประสาทที่ต้องมีเป็นพิเศษ
แนวทางการเขียนคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานแนวทางการเขียนคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน : คุณสมบัติของผู้เคยได้รับการฝึกอบรมจะต้องแตกต่างกับคุณสมบัติผู้ไม่เคยฝึกอบรม : การพิจารณากำหนดคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานควรกำหนดโดยผู้เชี่ยวชาญ : การวิเคราะห์คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานโดยใช้สถิติเป็นวิธีที่ดีที่สุด
ตัวอย่างคำบรรยายลักษณะงาน และการกำหนดคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน
การประเมินค่าของงาน (Job & valuation) : การพิจารณาตรวจสอบเปรียบเทียบงานเพื่อกำหนดโครงสร้างของค่าจ้างให้มีความยุติธรรมและเหมาะสม วิธีการประเมินค่างาน 1.จัดลำดับค่าของงาน 2.พิจารณามาตรฐานงาน 3.ให้คะแนน โดยอาศัยการเปรียบเทียบค่าของงาน
● การออกแบบงาน(Job design) : กระบวนการกำหนดงานของพนักงานด้วยลักษณะของโครงสร้างให้สอดคล้องกับลักษณะของคนทำงานเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์การ เทคนิคการออกแบบ การหมุนเวียนงาน : การเคลื่อนย้ายพนักงานจากงานหนึ่งไปอีกงานหนึ่ง ● การขยายปริมาณงาน(Job enlargment) : เพิ่มปริมาณงานแต่ระดับความรับผิดชอบเท่าเดิม
● ตัวแบบคุณลักษณะของงาน (Job characteristics models) : เพิ่มคุณค่าของงานโดยเพิ่มคุณลักษณะความรับผิดชอบของงาน 5 ประการคือ ความหลากหลายของทักษะ ความเป็นเอกเทศในตัวของงาน ความสำคัญของงาน ความมีอิสระและการย้อนกลับ ● การเพิ่มหน้าที่ความรับผิดชอบ (Job enrichment) : เปลี่ยนแปลงเนื้อหาและความรับผิดชอบของงานเพื่อให้พนักงานใช้ความสามารถมากขึ้น
● การสร้างกลุ่มงานโดยธรรมชาติ - การรวมงาน - การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า - การดำเนินการในแนวดิ่ง - การเปิดช่องทางให้มีการป้อนกลับข้อมูลอย่างเปิดเผย ● การทำงานเป็นทีม(Team work) - ทีมแก้ปัญหา - ทีมโครงงานพิเศษ - ทีมการจัดการด้วยตัวเอง
การวิเคราะห์งาน ประโยชน์ที่นำไปใช้ ประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน - การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ - การสรรหาและคัดเลือก - การกำหนดค่าตอบแทน - การออกแบบและปรับปรุงงาน - การประเมินผลการปฏิบัติงาน - การพัฒนาบุคลากร - การปรับปรุงสภาพการทำงาน ข้อมูลที่ได้ - คำบรรยายลักษณะงาน - คุณสมบัติของพนักงาน - การประเมินค่างาน - แนวทางการออกแบบงาน
กิจกรรมทบทวนความรู้ ให้นักศึกษาช่วยกันเขียนคำบรรยายลักษณะงานและคุณสมบัติของพนักงานที่เหมาะสมสำหรับตำแหน่งงานนั้น