180 likes | 311 Views
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด. นายอุรินทร์ โสตรโยม วิศวกรโยธาชำนาญการ. กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน. โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด. วัตถุประสงค์ของโครงการ.
E N D
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด นายอุรินทร์ โสตรโยม วิศวกรโยธาชำนาญการ กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลในทางน้ำประเภทต่าง ๆ ที่มีความแม่นยำและสามารถนำไปใช้งานได้จริงในสนาม กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด หลักการเบื้องต้น อัตราการไหลของน้ำ (วีระพล, 2525) หมายถึง ปริมาณน้ำที่ไหลผ่านรูปตัดขวางของน้ำในหนึ่งหน่วยเวลา อัตราการไหลมีหน่วยเป็นปริมาตรต่อเวลาเช่น ลูกบาศก์เมตร/วินาที หรือลูกบาศก์ฟุต/วินาที เป็นต้น โดยสามารถแบ่งวิธีการวัดอัตราการไหลของน้ำในทางน้ำเปิดได้ 2 วิธี ได้แก่ วิธีการวัดอัตราการไหลโดยตรง และวิธีการวัดอัตราการไหลทางอ้อม กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด หลักการเบื้องต้น Velocity – Area Method Special Gauging Installation Direct Method Dilution Method Float – Velocity Method Discharge Measurement Energy Equation Indirect Method Rating Curve Velocity Index กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด หลักการเบื้องต้น Lumped Flow Routing (Chaudhry, 1993) เป็นการประมาณค่าอัตราการไหลจากฟังก์ชั่นของเวลาเพียงอย่างเดียว ณ จุดใด จุดหนึ่งที่สนใจ ซึ่งบางครั้งเรียกว่า Hydrologic Routing โดยทั่วไปจะใช้ในการคำนวณอัตราการไหลของน้ำผ่านจุดที่สนใจในแต่ละช่วงเวลา หรือระดับน้ำในแต่ละช่วงเวลา ณ จุดที่สนใจ ถ้าเป็นการคำนวณในกรณีของน้ำท่วมจะเรียกว่า Flood Routing Distributed Flow Routing (Chaudhry, 1993) เป็นวิธีการประมาณค่าอัตราการไหล หรือระดับน้ำ ณ ตำแหน่งที่สนใจในระบบคลองส่งน้ำ โดยใช้สมการเซนท์วีแนนท์ (St. Venant Equation) หรือและสมการพลังงาน (Energy Equation)ในการประมาณค่าอัตราการไหลหรือระดับน้ำ แบ่งออกได้เป็น 2 วิธี ได้แก่ Direct Step Method และ Standard Step Method Flow Routing Lump Flow Routing Distributed Flow Routing กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด หลักการเบื้องต้น Direct Step Method (Chaudhry, 1993) เป็นวิธีการประมาณค่าระดับน้ำ ด้วยการกำหนดระดับน้ำที่ต้องการเพื่อหาตำแหน่งหรือระยะทางจากหน้าตัดควบคุมการไหลที่ให้ระดับน้ำที่ต้องการทราบ โดยใช้หลักสมดุลพลังงานของหน้าตัดการไหล Standard Step Method (Chaudhry, 1993) เป็นวิธีการประมาณค่าระดับน้ำที่ตำแหน่งต่าง ๆ จากค่าระดับน้ำของหน้าตัดการไหลควบคุมซึ่งอยู่ด้านท้ายน้ำของช่วงคลองที่พิจารณา โดยใช้หลักสมดุลพลังงานของหน้าตัดการไหล Distributed Flow Routing Direct Step Method Standard Step Method กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด หลักการเบื้องต้น ณ ช่วงเวลาที่ตรวจวัด การไหลในทางน้ำเป็นแบบคงตัว (Steady State Flow) ณ อัตราการไหลใด ๆ จะมีเส้นพลังงาน (Energy Grade Line) เพียงเส้นเดียว ช่วงคลองระหว่างสถานีวัดระดับน้ำ 2 สถานี ไม่มีการสูญเสียอัตราการไหล กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด หลักการเบื้องต้น กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด หลักการเบื้องต้น
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด วิธีการวิจัยและพัฒนา สำรวจหน้าตัดการไหล หาค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของทางน้ำ ติดตั้งสถานีวัดระดับน้ำ สร้างแบบจำลองคณิตศาสตร์ ตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลอง กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด ผลการวิจัยและพัฒนา สำรวจหน้าตัดการไหล กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด ผลการวิจัยและพัฒนา หาค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของทางน้ำ กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด ผลการวิจัยและพัฒนา ติดตั้งสถานีวัดระดับน้ำ กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด ผลการวิจัยและพัฒนา สร้างแบบจำลองคณิตศาสตร์ กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด ผลการวิจัยและพัฒนา ตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลอง กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ อุปกรณ์วัดระดับน้ำแบบลูกลอยมีความคลาดเคลื่อน ความยาวของสายสัญญาณ 500 เมตร มีความเสี่ยงในการชำรุดและเสียหายสูง การไหลในคลองเป็นแบบ 2 ทิศทาง กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สำนักวิจัยและพัฒนา
โครงการพัฒนาวิธีการวัดอัตราการไหลแบบเปรียบเทียบระดับน้ำ 2 จุด ขอบคุณครับ