1 / 60

นางศรีวิการ์ เมฆธวัชชัยกุล

การพัฒนาการศึกษาเพื่อเตรียมคน สู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558. นางศรีวิการ์ เมฆธวัชชัยกุล. อดีตรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการพัฒนาการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน. ที่ปรึกษาคณะทำงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๖๑).

elsu
Download Presentation

นางศรีวิการ์ เมฆธวัชชัยกุล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาการศึกษาเพื่อเตรียมคนการพัฒนาการศึกษาเพื่อเตรียมคน สู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 นางศรีวิการ์ เมฆธวัชชัยกุล อดีตรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการพัฒนาการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน ที่ปรึกษาคณะทำงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  2. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๖๑) รัฐบาลจะมุ่งเน้นให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ   เป้าหมายหลัก ๓ ประการ คือ • พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย • เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษา

  3. กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษากรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา มี ๔ ประการคือ • พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ • พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ • พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ • พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่

  4. จุดเน้น 6 เดือน 6 คุณภาพตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง 1. การเรียนฟรี เรียนดีอย่างมีคุณภาพ 2 การพัฒนาผู้เรียน พลเมืองยุคใหม่ 3 สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ใหม่เน้นคุณภาพของสถานศึกษา 4 คุณภาพการศึกษาตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ(โดยการศึกษานอกโรงเรียนประจำตำบล) 5 คุณภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา จะต้องขับเคลื่อนให้ชัดเจนสู่นโยบาย 3N คือ Ned.Net (National Education network)/ เครือข่าย NEIS (National Education Information System) เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ทางการศึกษาทั้งหมดซึ่งจะรู้ข้อมูลครูอย่างละเอียดที่เป็นปัจจุบัน และศูนย์ NLC (National Learning Center) 6 คุณภาพครู การพัฒนาครูทั้งระบบให้เป็นรูปธรรม ครูที่เอาใจใส่ศิษย์ มีความประพฤติเป็นที่ยอมรับของสังคม พัฒนาตนเอง มีจิตวิญญาณความเป็นครู

  5. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ก้าวแรกของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ของสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อการขับเคลื่อนหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล นักเรียนทุกระดับชั้นมีคุณลักษณะรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย รับผิดชอบและมีจิตสาธารณะ จำแนกรายชั้น ดังนี้ • ป.1 – ป.3 นักเรียนมีทักษะและความสามารถในการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ มีคุณลักษณะ ใฝ่ดี • ป.4 – ป.6 นักเรียนมีทักษะและความสามารถในการอ่านคล่อง เขียนคล่อง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ มีคุณลักษณะ ใฝ่การเรียนรู้

  6. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ก้าวแรกของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ของสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (ต่อ) • ม.1 – ม.3 นักเรียนมีทักษะและความสามารถในการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต การแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยี รักการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ มีคุณลักษณะ อยู่อย่างพอเพียง • ม.4 – ม.6 นักเรียนมีทักษะและความสามารถในการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต การแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยี รักการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ มีคุณลักษณะ มีความมุ่งมั่น

  7. เป้าหมายสถานศึกษายุคใหม่ที่สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่สองเป้าหมายสถานศึกษายุคใหม่ที่สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่สอง 1. ชื่อเสียงดี มีเป้าหมายชัดเจน 2. สะอาด ร่มรื่น สวยงาม 3. อบอุ่น สีสันสดใส ปลอดภัย 4. มีส่วนร่วม จากชุมชนและผู้ปกครอง 5. ห้องสมุด 3 ดี ห้องปฏิบัติการ ศูนย์การเรียนรู้อาชีพ 6. ครูเป็นกัลยาณมิตร ใช้แหล่งเรียนรู้ ใช้ ICT เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ทันเหตุการณ์ 7. ผู้บริหารเป็น ผู้นำการเปลี่ยนแปลง 8. นักเรียน ใฝ่รู้ใ ฝ่เรียน ใฝ่ดี มีความเป็นไทย สุขภาพดี รักงานอาชีพ

  8. แนวทางการพัฒนาการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2554 วิสัยทัศน์ สพฐ.เป็นพลังขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทยให้เป็นผู้นำหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ภายในปีการ ศึกษา 2556 พันธกิจ พัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่มีความรู้คู่คุณธรรม มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพระดับสากล

  9. แนวทางการพัฒนาการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2554 (ต่อ) เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี อย่างทั่วถึงและได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ 4. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีความเข้มแข็งเป็นกลไกขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 5. การศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรมีความปลอดภัยและมั่นคง

  10. แนวทางการพัฒนาการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2554 (ต่อ) จุดเน้น 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนอ่านออกเขียนได้ 3. เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา ด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 4. นักเรียนทุกคนมีความสำนึกในความรักชาติ 5. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ

  11. แนวทางการพัฒนาการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2554 (ต่อ) 6. ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยการขยายผลสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ 7. นักเรียน ครูและสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน ภาคใต้ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ 8. นักเรียน ครูและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 9. สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบประกันคุณ ภาพภายในที่เข้มแข็งและผ่านการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก 10. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

  12. อาเซียน(ASEAN) Association for South East AsianNations หรือ ประชาคมประชาชาติเอเซียตะวันออกเฉียงใต้

  13. ASEAN COUNTRIES Thailand Laos Vietnam Cambodia Malaysia Myanmar Brunei Philippine Indonesia Singapore

  14. สมาชิกอาเซียน : พม่า(สาขาผลิตภัณฑ์เกษตรและสาขาประมง), มาเลเซีย (สาขาผลิตภัณฑ์ยางและสาขาสิ่งทอ), อินโดนีเซีย (สาขายานยนต์และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้), ฟิลิปปินส์ (สาขาอิเล็กทรอนิกส์), สิงคโปร์ (สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสาขาสุขภาพ),ไทย (สาขาการท่องเที่ยวและสาขาการบิน)+3 : จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และ+6 : ออสเตรเลีย อินเดีย นิวซีแลนด์ (บวกสาม แล้วบวกอีกสาม)

  15. ASEAN Centrality ASEAN External Relations ASEAN+3 ASEAN EAS (ASEAN+6) ASEAN at the Centre

  16. ASEAN ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)

  17. ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

  18. การศึกษาจะเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการศึกษาจะเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน ทั้ง 3 เสาหลัก เสาสังคม วัฒนธรรม เสาเศรษฐกิจ เสาการเมือง ความมั่นคง

  19. THE ASEAN CHARTER Association of Southeast Asian Nations

  20. ประชาคมอาเซียน หลักการพื้นฐานของอาเซียน • การตัดสินใจโดยฉันทามติ • การไม่แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน • ร่วมมือเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชน

  21. ประชาคมอาเซียน • การเคลื่อนย้ายเงินทุนต้องเสรีมากที่สุด • การเคลื่อนย้ายฝีมือแรงงานมีคุณภาพ สิ้นปี ๒๕๕๘ประเทศไทยและอาเซียนต้องอนุญาตให้ต่างชาติเข้ามาซื้อหุ้นได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ หลังจากเปิดเสรีอาเซียนรัฐบาลยังสามารถคงกฎหมาย ด้าน ประเพณีวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมการคุ้มครองผู้บริโภคการปฏิบัติต่อคนต่างชาติ และ ในชาติต้องเท่าเทียมกัน การเปิดเสรีเป็น การเปิดประตูเท่านั้น

  22. สิ่งที่จำเป็นต้องเกิดขึ้น1.  ให้การศึกษาฝึกอบรมนักลงทุนให้มีขีดความสามารถ2. การพัฒนาบุคคลประชากรนักธุรกิจผู้ส่งออก3. การพัฒนาฝีมือต้องมีการตกลงคุณสมบัติร่วมร่วมกัน

  23. การให้บริการการศึกษา • Mode 1  E  - leaning • Mode 2  ผู้ซื้อบริการเดินทางไปศึกษายังประเทศที่ให้บริการ • Mode 3  ผู้ขายบริการเดินทางเข้ามายังประเทศที่ให้บริการ • Mode 4  ตัวบุคคลเดินทางเข้ามาสอนในประเทศที่ต้องการบริการ

  24. การเคลื่อนย้ายผู้ประกอบวิชาชีพชั้นสูง ในปี 2558 ตามข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Agreements: MRAs) แพทย์ วิศวกรรม พยาบาล ทันตแพทย์ สถาปัตยกรรม นักบัญชี การสำรวจ

  25. เส้นทางการคมนาคมอย่างไร้พรมแดนเส้นทางการคมนาคมอย่างไร้พรมแดน สะดวก รวดเร็ว ประหยัด  เส้นทางขนถ่ายสินค้า และการคมนาคม

  26. เส้นทาง “ระเบียงเศรษฐกิจหนานหนิง-กรุงเทพฯ” (R9)ระยะทางประมาณ 1,900 กว่ากิโลเมตรรายละเอียดเส้นทางเริ่มต้นจากนครหนานหนิง -– กรุงฮานอย (ถนนหมายเลข 1) จ. กวางบิงห์ (ถนนหมายเลข 9) – ด่านสะหวันนะเขต – ด่านมุกดาหาร – จ.ขอนแก่น – กทม. เราเตรียมอะไรให้เด็ก

  27. ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตกEast – West Economic Corridor

  28. เราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้างเราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้าง

  29. เราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้างเราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้าง

  30. แผนที่เส้นทางไฮสปีดเทรน คุนหมิง-สิงคโปร์(เครดิตhttp://english.people.com)

  31. ประโยชน์ที่ไทยได้รับจากอาเซียนประโยชน์ที่ไทยได้รับจากอาเซียน 1. การเมือง  -  มีความมั่นคง 2. เศรษฐกิจ  -  เพิ่มการค้าลดต้นทุนการผลิตขยายตลาดการค้า 3. สังคมวัฒนธรรม  -  แก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อสังคมเช่นโรคระบาดยาเสพติดร่วมมือกันลดผลกระทบที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมเช่นภัยพิบัติ

  32. เราเตรียมคนอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนของประเทศ เพื่อสู่ประชาคมอาเซียน ในปี 2558

  33. การศึกษารากฐานประชาคมอาเซียนการศึกษารากฐานประชาคมอาเซียน • นักการศึกษาต้องเร่งเตรียมเด็กของเราให้อยู่ร่วมกันได้ในประชาคมอาเซียนโดยภาษาไทยเข้มแข็งเรียนรู้วัฒนธรรมของเขาปรับหลักสูตรให้อยู่กับประชาคมอาเซียนให้ได้ • พลเมืองของเราต้องมองข้ามความเป็นชาติและ เขตแดนไทย

  34. กรอบแนวคิด ทิศทางโลก คนไทยที่ควรจะเป็น ASEAN Community ณ ปัจจุบัน การจัดการศึกษารองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ทิศทางประเทศไทย ทิศทางอาเซียน หลักสูตร/โครงสร้าง ในระบบ การจัดการศึกษาไทยในปัจจุบัน • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน ประชาคมอาเซียน ในทุกมิติ • มีศักยภาพทั้งในด้านความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพ และภาษาอังกฤษ/ภาษาอาเซียน เทคโนโลยีสารสนเทศ • มีระบบคิดแบบสมานฉันท์ โดยไม่ลืมรากเหง้าความเป็นไทย: รู้จักความหลากหลายและอยู่ร่วมกับความหลากหลายอย่างสมานฉันท์ นอกระบบ การเตรียมความพร้อมด้านการศึกษาของปท. ในอาเซียน ความสัมพันธ์ไทยกับปท. อาเซียน

  35. เพื่อเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนเพื่อเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน โจทย์ของการจัดการศึกษา  คนไทยที่พึงประสงค์ ในยุค “อาเซียน” การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมรับมือ “ประชาคมอาเซียน”  การสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่อง“อาเซียน” ในสังคมไทย ควรเป็นอย่างไร ใช้เครื่องมือใด   การเสริมสร้างรากเหง้าความเป็นไทยในยุค“อาเซียน” เพื่อการอยู่อย่างสมานฉันท์ และไม่ลืมรากเหง้า

  36. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนกระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน มีคณะกรรมการระดับชาติเพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือ ด้านการศึกษาในอาเซียนสู่การบรรลุเป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 โดยมี รมว.ศธ.เป็นประธาน

More Related