1 / 54

บทที่ 2 Transformer

บทที่ 2 Transformer. 2.1 หลักการพื้นฐาน 2.2 โครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า 2.3 การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ 2.4 วงจรสมมูลย์ ( Equivalent Circuit) ของหม้อแปลงขณะไร้โหลด 2.5 หม้อแปลงเมื่อมีโหลด. วงจรแม่เหล็ก (ต่อ). 2.6 เฟสเซอร์ ไดอะแกรม ( Phasor Diagram) ของหม้อแปลง

elroy
Download Presentation

บทที่ 2 Transformer

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่2Transformer 2.1หลักการพื้นฐาน 2.2โครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า 2.3การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ 2.4วงจรสมมูลย์ (Equivalent Circuit)ของหม้อแปลงขณะไร้โหลด 2.5หม้อแปลงเมื่อมีโหลด

  2. วงจรแม่เหล็ก (ต่อ) 2.6เฟสเซอร์ ไดอะแกรม (Phasor Diagram)ของหม้อแปลง 2.7Approximate Equivalent Circuits 2.8Open-circuit Test หรือ No-load Test 2.9Short-circuit Test 2.10Voltage Regulation

  3. วงจรแม่เหล็ก (ต่อ) 2.11ประสิทธิภาพของหม้อแปลง(Efficiency) 2.12All-day Efficiency

  4. 2.1หลักการพื้นฐาน ในการที่จะส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าได้ประหยัด มีประสิทธิภาพเป็นระยะทางไกลๆ จะต้องใช้ระดับแรงดันสูงๆในการส่งจ่าย เพื่อให้เกิดกำลังสูญเสีย (I2R)ในสายส่งให้น้อยที่สุด แต่เมื่อถึงปลายทาง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ใช้งาน พลังงานไฟฟ้าจะต้องถูกแปลงลงมาที่ระดับแรงดันต่ำๆ หม้อแปลงไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าที่ระดับแรงดันต่างกัน

  5. หลักการพื้นฐาน (ต่อ)

  6. 2.2โครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า2.2โครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า 2.2.1 แกนเหล็ก (Core) หม้อแปลงไฟฟ้าจะประกอบด้วยแกนเหล็ก ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นวงจรแม่เหล็ก แกนเหล็กจะทำด้วยเหล็กผสมซิลิกอน ซึ่งจะทำให้ Reluctanceมีค่าต่ำ rมีค่าสูง แกนเหล็กจะเป็นแผ่นเหล็กบางๆเพื่อให้เกิด lossน้อย โดยแต่ละแผ่นจะถูกเคลือบไว้ด้วยฉนวนไฟฟ้า

  7. โครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า (ต่อ) แกนเหล็กของหม้อแปลง โดยทั่วไปจะแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดคือ • รูปที่ 2.1 หม้อแปลง (a) core-type (b) shell-type (c) Berry-type.

  8. โครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า (ต่อ) 2.2.2 ขดลวด (Winding) • I1 = Effective value ของกระแส • i1 = Instantaneous current • รูปที่ 2.2 หม้อแปลงไฟฟ้าลูกศรแสดงถึงทิศทางที่เป็นบวก

  9. โครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า (ต่อ) 2.2.2 ขดลวด (Winding) • I1 = Effective value ของกระแส • i1 = Instantaneous current • รูปที่ 2.2 หม้อแปลงไฟฟ้าลูกศรแสดงถึงทิศทางที่เป็นบวก * ถ้าหากทางด้าน Secondary ไม่ได้ต่อโหลด จะมีกระแส i0 ไหลทางด้าน Primary เล็กน้อย เรียกว่า Exciting current

  10. 2.3 การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ • ในขั้นแรก ให้พิจารณากรณีที่เป็น Ideal Transformer ก่อน กล่าวคือ • ไม่มี Iron loss (Core loss) • ไม่คิดความต้านทานของ Winding • ฟลักซ์แม่เหล็กเดินทางอยู่ในขดลวดทั้งสองทั้งหมด (ไม่มี Leakage flux)

  11. การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ) • รูปที่ 2.3 No load phasor diagram ของ Ideal transformer ซึ่งไม่มี Iron loss และความต้านในขดลวด (n1/n2 = 2)

  12. การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ) • เนื่องจาก i0 เป็นกระแสสลับเปลี่ยนค่าตามเวลา  จะเปลี่ยนแปลงตามเวลาด้วย e2gจะมีทิศทางเดียวกันกับe1g เนื่องจากเกิดจากฟลักซ์ตัวเดียวกัน

  13. การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ) • แทนค่า  จากสมการที่ (2.1)ลงในสมการที่ (2.2)จะได้

  14. 2fn1m  m • รูปที่ 2.4 รูปสัญญาณของ e1gในสมการที่ 2.4 การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ) • จากสมการ (2.4) จะพบว่า e1gเป็น sine curveที่ล้าหลัง flux,  อยู่ 90

  15. การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)

  16. การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)

  17. การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ) กรณีคิด Iron loss (Core loss) โดยทั่วไป แกนเหล็กที่ใช้ทำหม้อแปลงจะมี loss ซึ่งยังผลให้  ล้าหลัง Exciting current, I0 • รูปที่ 2.5 No load phasor diagram ของหม้อแปลงไฟฟ้า(อัตราส่วนของขดลวดทางด้านปฐมภูมิต่อทุติยภูมิเท่ากับ 2)

  18. การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ) Power input ของหม้อแปลงเท่ากับ E1I0 cos และเนื่องจากเอาต์พุทเป็นศูนย์ ทำให้อินพุทคือ Iron loss นั่นเอง (จริงๆแล้วยังคงมี Cu loss คือ I02R1อยู่ แต่เนื่องจาก I0น้อยมาก ทำให้ Cu loss น้อยมากจนตัดทิ้งได้) • Exciting current, I0จะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ • ส่วนของ Magnetizing current, IM = I0 sin ที่ทำให้เกิด flux, ขึ้นส่วนของ Core loss, Ic = I0 cos ซึ่ง core loss = E1I0 cos ประกอบด้วย Hysteresis และ Eddy-current loss ในเหล็ก

  19. การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ) ดังนั้นจะได้สมการของ Exciting currentขณะไร้โหลด คือ

  20. การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ) Hysteresis loss เนื่องจากการะแสที่ไหลเข้า Primary winding ของหม้อแปลงเป็นไฟกระแสสลับทำให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่เกิดขึ้นเปลี่ยนแปลงตามกระแส การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้โดเมนของเหล็กกลับไปมา จึงทำให้เกิด Hysteresis loss ขึ้น โดย Hysteresis loss นี้จะแปรผันตรงตามความถี่และ B1.6 (B = Max. flux density)

  21. การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ) Eddy current loss • รูปที่ 2.6 แกนเหล็กของหม้อแปลงไฟฟ้า

  22. การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ)การเกิดแรงดันเหนี่ยวนำ(ต่อ) Eddy current loss • รูปที่ 2.6 แกนเหล็กของหม้อแปลงไฟฟ้า • Eddy-current loss จะแปรผันตามกำลังสองของ flux density, Bและกำลังสองของความถี่

  23. 2.4วงจรสมมูลย์ (Equivalent Circuit)ของหม้อแปลงขณะไร้โหลด • พารามิเตอร์ที่ใช้ในการเขียนวงจรสมมูลย์ ประกอบด้วย R1, R2, X1และ X2 1l = Primary leakage flux 2l = Secondary leakage flux • รูปที่ 2.7 แกนเหล็กของหม้อแปลงไฟฟ้าแสดงถึง Leakage flux • รูปที่ 2.8 วงจรสมมูลย์ของหม้อแปลงจริง

  24. วงจรสมมูลย์ (Equivalent Circuit)ของหม้อแปลงขณะไร้โหลด (ต่อ) • ความต้านทาน, R0และ Reactance, X0ที่เกิดจาก Core loss และ Magnetization ตามลำดับ • รูปที่ 2.9 วงจรสมมูลย์ของหม้อแปลง

  25. 2.5 หม้อแปลงเมื่อมีโหลด • เมื่อมีโหลดมาต่อทางด้าน Secondary ของหม้อแปลง จะเกิด I2ไหล • รูปที่ 2.10 วงจรสมมูลย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าขณะจ่ายโหลด

  26. หม้อแปลงเมื่อมีโหลด (ต่อ) • รูปที่ 2.11 เฟสเซอร์ไดอะแกรมของหม้อแปลงไฟฟ้าขณะจ่ายโหลด • (อัตราส่วนขดลวดทางด้านปฐมภูมิต่อทุติยภูมิเท่ากับ 2)

  27. หม้อแปลงเมื่อมีโหลด (ต่อ) • เนื่องจาก flux, ที่เกิดขึ้นในแกนเหล็กเท่ากันตลอดวงจร ดังนั้น mmfที่เกิดขึ้นทางด้าน Primary และ Secondary จะต้องเท่ากัน นั่นคือ

  28. 2.6 เฟสเซอร์ ไดอะแกรม (Phasor Diagram) ของหม้อแปลง • รูปที่ 2.12 Complete phasor diagram ของหม้อแปลงไฟฟ้าจริงขณะจ่ายโหลด P.F.=0.95 • Lagging (อัตราส่วนขดลวดทางด้านปฐมภูมิต่อทุติยภูมิเท่ากับ 2)

  29. 2.7Approximate Equivalent Circuits (1) ในขั้นแรกจะย้ายค่าต่างๆทางด้าน Secondary ไปทางด้าน Primary โดยเปลี่ยนแปลง Magnitude ตามสัดส่วนของ Turn ratio ดังนี้ • รูปที่ 2.13 วงจรสมมูลย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าจริงเมื่ออิมพีแดนซ์ทางด้านทุติยภูมิถูกย้ายไปทางด้านปฐมภูมิ

  30. Approximate Equivalent Circuits(ต่อ) (2) ขั้นต่อไป พิจารณาว่า I0มีค่าเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับ I1ซึ่งโดยทั่วไปจะประมาณ 0.5-2 % ของกระแสเต็มที่ จึงสามารถเขียนวงจรรูปที่ 2.13 ได้ใหม่ดังรูปที่ 2.14 • รูปที่ 2.14

  31. Approximate Equivalent Circuits(ต่อ) • รูปที่ 2.15 Approximate equivalent circuit ของหม้อแปลงไฟฟ้า

  32. 2.8Open-circuit Test หรือ No-load Test • รูปที่ 2.16 Open-circuit test ของหม้อแปลงไฟฟ้า

  33. Open-circuit Test หรือ No-load Test(ต่อ) • Power input ภายใต้เงื่อนไขนี้ จะเท่ากับ Iron loss บวกกับ Cu loss ซึ่งน้อยมากตัดทิ้งได้ แต่เนื่องจากค่า W0ที่อ่านได้จาก wattmeter รวมค่า Power loss ในตัวมันเอง และใน Ammeter ด้วย ดังนั้น

  34. Open-circuit Test หรือ No-load Test(ต่อ) • Open circuit test ปกติแล้วจะเปิดวงจรทางด้าน High voltage และวัดค่าต่างๆทางด้าน Low voltage เนื่องจากว่าถ้าทำการวัดค่าต่างๆทางด้าน High voltage จะต้องใช้ Rated voltage ที่สูง ขณะที่กระแสมีค่าต่ำมาก อ่านค่าได้ยาก

  35. Open-circuit Test หรือ No-load Test(ต่อ)

  36. 2.9Short-circuit Test • ในการหา Cu losses (I2Re) ของขดลวดทั้งทางด้าน Primary และ Secondary จะกระทำได้โดยการต่อวงจรดังรูป 2.17

  37. Short-circuit Test(ต่อ)

  38. Short-circuit Test(ต่อ)

  39. Open/Short-circuit Test(ต่อ)

  40. Open/Short-circuit Test(ต่อ)

  41. Open/Short-circuit Test(ต่อ)

  42. 2.10Voltage Regulation 1. คำนวณได้จากความแตกต่างของแรงดันทางด้านทุติยภูมิในสภาวะไร้โหลด (No load) กับสภาวะจ่ายโหลดเต็มที่ (Full load) โดยแสดงเป็นเปอร์เซนต์เทียบกับแรงดันที่ Full load ของทางด้านทุติยภูมิ เมื่อให้แรงดันทางด้านปฐมภูมิคงที่ 2. คำนวณจากการเปลี่ยนแปลงของแรงดันทางด้านปฐมภูมิที่ต้องการในการทำให้แรงดันทางด้านทุติยภูมิคงที่จากสภาวะไร้โหลดไปยัง Full load โดยแสดงเป็นเปอร์เซนต์เทียบกับแรงดันที่ Full load ของทางด้านปฐมภูมิ

  43. Voltage Regulation (ต่อ)

  44. Voltage Regulation (ต่อ)

  45. Voltage Regulation (ต่อ)

  46. 2.11 ประสิทธิภาพของหม้อแปลง (Efficiency)

  47. ประสิทธิภาพของหม้อแปลง (Efficiency)(ต่อ)

  48. 2.12All-day Efficiency

  49. All-day Efficiency (ต่อ)

  50. All-day Efficiency (ต่อ)

More Related