720 likes | 1.17k Views
ผล PAP และการดูแลรักษา. โดย พญ. เปรมฤดี อริยานนท์ รพ.นครปฐม. Bartholin’s abscess. Marsupialization. ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ. อายุและสถานภาพสมรส อาการสำคัญที่นำผู้ป่วยมาพบแพทย์ เช่นตกขาว, ตกเลือด การเจ็บป่วยจากปัจจุบันและอดีต
E N D
ผล PAP และการดูแลรักษา โดย พญ.เปรมฤดี อริยานนท์ รพ.นครปฐม
ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ • อายุและสถานภาพสมรส • อาการสำคัญที่นำผู้ป่วยมาพบแพทย์ เช่นตกขาว, ตกเลือด • การเจ็บป่วยจากปัจจุบันและอดีต • การเจ็บป่วยในครอบครัวหรือโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม • ประวัติระดู อายุเริ่มมีระดูครั้งแรก, ลักษณะเลือดที่ออก, ระยะเวลาที่มา,ปริมาณเลือดที่ออก, ระดูปกติครั้งสุดท้าย (LMP) • ประวัติการตั้งครรภ์, การคุมกำเนิด, การมีบุตร, การแท้งการคลอดบุตร • ประวัติการแพ้ยา, อาหาร
คันที่ปากช่องคลอด • การซักประวัติ ระยะเวลาที่เกิดอาการ, สิ่งกระตุ้น, ความสัมพันธ์กับรอบระดู, การคุมกำเนิด, อาการหลังเพศสัมพันธุ์ • การตรวจร่างกาย ตรวจบริเวณปากช่องคลอด, ช่องคลอด, ปากมดลูก
ระดูขาว (leukorrhea) • ระดูขาวปกติ เป็นระดูขาวที่พบในภาวะปกติเป็นส่วนผสมของสิ่งซึ่งขับออกจากต่อมต่างๆของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ • ระดูขาวผิดปกติ มีลักษณะและกลิ่นผิดปกติ อาจมีอาการคัน ปวดแสบร้อนบริเวณปากช่องคลอดหรือบริเวณใกล้เคียง
ระดูขาวปกติมาจาก • Bartholin’s gland จะขับน้ำเมือกออกมาหล่อลื่นช่องคลอดส่วนล่างและปากช่องคลอด • Sweat gland, sebaceous gland บริเวณ vulva และ paraurethral gland(skene’s gland) • Vagina หลุดร่วงจากเซลล์ชั้นผิวของเยื่อบุผนังช่องคลอด • Cervix โดยการขับน้ำเมือกจาก endocervical gland • Uterine secretion จาก endometrial gland • Tubal secretion
ระดูขาวที่ปกติอาจเพิ่มขึ้นระดูขาวที่ปกติอาจเพิ่มขึ้น • ช่วงใกล้ตกไข่ estrogen จะกระตุ้น endocervical glands หลั่งน้ำเมือกจำนวนมาก • ระยะก่อนมีระดู 2-3 วัน เลือดมาหล่อเลี้ยงเพิ่มทำให้ secretion จากทุกส่วนเพิ่ม • การตั้งครรภ์ มีการร่วงของเซลล์บุผนังช่องคลอดและน้ำเมือกจาก endocervical glands เพิ่มมากขึ้น • ขณะร่วมเพศ จะทำให้ secretion จาก bartholin’s glands เพิ่มขึ้น
ระดูขาวที่ปกติอาจเพิ่มขึ้นระดูขาวที่ปกติอาจเพิ่มขึ้น • ทารกแรกเกิดเพศหญิง อาจพบมีระดูขาวลักษณะเป็นเมือกภายใน 1-10 วันแรกภายหลังคลอด เป็นผลจากการกระตุ้นมดลูกและช่องคลอดโดยเอสโตรเจนจากรก • ระยะวัยรุ่นคือก่อนหรือหลังมีระดูครั้งแรก ประมาณ 2-3 ปีแต่จะมีอาการเพียงชั่วคราวและหายไปได้เอง
สาเหตุระดูขาวผิดปกติ • การติดเชื้อ เช่น TV, เชื้อรา, หนองใน • ปากมดลูกอักเสบและเป็นแผล • สิ่งแปลกปลอมในช่องคลอด • แผลที่ปากช่องคลอดและปากมดลูก • เนื้องอกและมะเร็งของช่องคลอดหรือปากมดลูก • สาเหตุอื่นๆ เช่น fistula
สาเหตุต่างๆของตกขาวและการวินิจฉัยโรคสาเหตุต่างๆของตกขาวและการวินิจฉัยโรค
สาเหตุต่างๆของตกขาวและการวินิจฉัยโรคสาเหตุต่างๆของตกขาวและการวินิจฉัยโรค
Gonococcal vaginitis • เกิดจากเชื้อ Neisseria gonorrhoeae • Gm – diplococci (coffee bean) เชื้อมักอยู่ที่ urethra, paraurethra ducts and glands, endocervix, Bartholin’s glands • ตกขาวเป็นหนอง (mucopurulent discharge), ปัสสาวะแสบขัด • บางครั้งบวมแดงและคันบริเวณ vulva • ใช้นิ้วรีดท่อปัสสาวะจะมีหนองไหลออกมา • Bartholin’s gland อาจโตได้เนื่องจากมีการอักเสบ
การวินิจฉัย • Wet smear พบ WBC จำนวนมาก • Gm stained จาก urethra และ endocervix พบ Gm – diplococci (intracellular diplococci)
การรักษา • ยาในกลุ่ม quinolone ไม่ควรให้ในสตรีตั้งครรภ์ • ควรรักษาคู่นอนด้วย
Chlamydia trachomatis • เชื้อต้นเหตุหนองในเทียม • บ่อยครั้งที่พบว่าสาเหตุของ urethritis เกิดจากเชื้อหนองในและ chlamydia trachomatis
ลักษณะทางคลินิก • ผู้ชายจะมีหนองไหลออกทางท่อปัสสาวะ มีลักษณะเป็น mucopurulent discharge with meatal erythema และพบว่าร้อยละ 25 จะไม่มีอาการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • Giemsa’s staining, PAP smear • PCR (Polymerase chain reaction) แม่นยำที่สุด
การรักษา • Doxycycline (100 mg) รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 10-14 วัน • Tetracycline HCL (500 mg) รับประทานวันละ 4 ครั้ง เป็นเวลา 10-14 วัน • Azithromycin 1 g รับประทานครั้งเดียว • สำหรับหญิงตั้งครรภ์ให้ Erythromycin (500 mg) รับประทานวันละ 4 ครั้ง เป็นเวลา 10-14 วัน
Herpes genitalis • เป็นแล้วไม่หายขาด สามารถแพร่กระจายสู่ผู้อื่นได้ • เด็กที่คลอดผ่านทางคลอดที่มีเชื้อไวรัสนี้ เด็กจะติดเชื้อแต่กำเนิดมีโอกาสที่จะตาย • ที่อวัยวะสืบพันธุ์เกิดจาก HSV-2
การวินิจฉัย • แผลที่เกิดจากการแตกออกของ vesicle กลมๆเล็กๆหลายๆอัน รวมเป็นแผลตื้นที่มีรูปเป็นวงๆมาต่อกัน เรียกว่า multi-ring appearance • PAP smear ต้องขูดให้ได้เซลล์ จะพบเป็น multinuclear giant cell with nuclear ground glass appearance
เว็บไซต์ | ภาพขนาดเต็ม ‹› เว็บไซต์ | ภาพขนาดเต็ม ‹› › ‹ Herpes simplex
การรักษา • Acyclovir (200 mg) รับประทาน 1 เม็ด วันละ 5 ครั้ง นาน 5 วัน ยาทาใช้กรณีแผลเริ่มแห้งแล้ว ระยะแรกควรเป็น wet dressing • Valaciclovir (500 mg) รับประทาน 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน แผลหายเร็วขึ้นและยับยั้งการเป็นซ้ำได้ดี • Famciclovir (125 mg) รับประทาน 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน แต่ในการยืดเวลาของการเป็นซ้ำควรให้ 500 mg ต่อ วัน
Condyloma acuminata • เกิดจากเชื้อ Human papilloma virus (HPV) • ลักษณะเหมือนหงอนไก่ ชอบอยู่บริเวณอับชื้น • อย่างน้อยร้อยละ 10 ของหญิงวัยเจริญพันธุ์ลักษณะปกติ แต่มีเชื้อหูดหงอนไก่
การรักษา • การรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ายที่รอยโรค • Surgery • Immunotherapy
การรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ายที่รอยโรคการรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ายที่รอยโรค • Podophyllins ไม่ควรใช้ยานี้ในหูดหงอนไก่ขนาดใหญ่มาก เพราะอาจเกิดผลข้างเคียงที่รุนแรง เช่น coma, vascular crisis และ respiratory failure การใช้รักษาหูดหงอนไก่ในผู้ป่วยตั้งครรภ์นั้นเป็นข้อห้าม เพราะมีรายงาน 20% podophyllin ทำให้เกิด intrauterine fetal death จาก severe constriction of placental vessels • Trichloracetic acid ผลข้างเคียงน้อยกว่า podophylline ใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ผลดีพอควร ไม่นิยมใช้ป้ายในช่องคลอดหรือที่ปากมดลูก เพราะความเปียกชื้นทำให้ยากระจาย
การรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ายที่รอยโรคการรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ายที่รอยโรค • 5-Fluorouracil (5-FU) 1% รูปครีม ยับยั้งการสร้าง DNA ได้ผลดี • Liquid nitrogen มักใช้กับหูดหงอนไก่ขนาดใหญ่เกิน 5 mm • 5% Imiquimod (Aldara) cream ผู้ป่วยสามารถทาเองที่บ้านสัปดาห์ละ 3 วัน หลังป้ายยา 6-10 ชม. หรือหลังตื่นนอนควรล้างออกด้วยน้ำสบู่
Surgery • Simple surgical procedures • Electric cauterization • Cryosurgery • Laser surgery
Immunotherapy • Alpha-interferons ส่วนใหญ่เป็นยาฉีด ช่วยให้การรักษาได้ผลดีขึ้น • Vaccine
candida • สาเหตุ จาก candida albicans อาจมีลักษณะเป็น yeast cells หรือเป็น pseudohyphae • สำหรับ yeast cells ส่วนใหญ่พบเป็น normal flora อยู่ในช่องคลอด แต่ pseudohyphae มักพบในผู้ป่วยที่มีอาการแล้ว • ตกขาวลักษณะสีเหลืองหรือขาวเป็นก้อนคล้ายนมข้น ผนังช่องคลอดมีการอักเสบบวมแดง มีอาการคันในช่องคลอด อวัยวะเพศภายนอกมีอาการอักเสบบวมแดงและคัน • ภาวะต่างๆ เช่น ตั้งครรภ์,เบาหวาน,ภูมิคุ้มกันต่ำ,การเจ็บป่วยเรื้อรัง,การใช้ยาปฏิชีวนะ,ยาคุมกำเนิดนานๆ,คนอ้วนมากๆ พบมาก
Candida • การอักเสบของช่องคลอดที่เกิดจากเชื้อรา เป็นเรื่องที่พบได้บ่อย • เชื้อราที่เป็นต้นเหตุมีหลายชนิด ได้แก่ Candida albicans พบร้อยละ 80-90
ปัจจัยส่งเสริมต่อการติดเชื้อราในช่องคลอดปัจจัยส่งเสริมต่อการติดเชื้อราในช่องคลอด • การตั้งครรภ์ พบสูงกว่าหญิงไม่ตั้งครรภ์ ประมาณ 2 เท่า (เอสโตรเจนที่สูงขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์จะทำให้ปริมาณ glycogen ในเยื่อบุช่องคลอดมากขึ้น) • โรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ดี • ยาปฏิชีวนะไปทำลายเชื้อที่อยู่ในลักษณะสมดุลกับเชื้อราในช่องคลอด • ยาคุมกำเนิด พบเชื้อราในช่องคลอดในผู้ป่วยที่กินยาคุมกำเนิด ประมาณ ร้อยละ 20-45 (เอสโตรเจนเพิ่มปริมาณ glycogen)
ปัจจัยส่งเสริมต่อการติดเชื้อราในช่องคลอดปัจจัยส่งเสริมต่อการติดเชื้อราในช่องคลอด • ยา steroid ทำให้มีการติดเชื้อแบบแพร่กระจายได้ง่าย • ความบกพร่องของภูมิต้านทาน • ใส่เสื้อผ้าที่คับเกินไป • เพศสัมพันธ์
การวินิจฉัย • การทำ wet smear คือ เอาตกขาวผสมน้ำเกลือ 1-2 หยดบนแผ่นกระจกสไลด์ แล้วหยด 10% KOH ดูกล้องจุลทรรศ์จะเห็น hyphea • การทำ Gram’s stained ดูด้วยกล้องขยาย พบ pseudohyphae และ budding cell ติดสี gram positive
การรักษา • สตรีตั้งครรภ์ควรใช้ชนิดสอด • รักษาคู่นอน ใช้ยาทา เช้า - เย็น