1 / 42

โครงการ TO BE NUBER ONE การจัดตั้งชมรม TO BE NUBER ONE

โครงการ TO BE NUBER ONE การจัดตั้งชมรม TO BE NUBER ONE การจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUBER ONE. โดย ..... จันทร์พลอย สินสุขเศรษฐ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ. โครงการ TO BE NUMBER ONE (โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด).

Download Presentation

โครงการ TO BE NUBER ONE การจัดตั้งชมรม TO BE NUBER ONE

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการ TO BE NUBER ONE การจัดตั้งชมรม TO BE NUBER ONE การจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUBER ONE โดย ..... จันทร์พลอย สินสุขเศรษฐ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ

  2. โครงการ TO BE NUMBER ONE (โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) จากความห่วงใยประชาชนชาวไทย ต่อปัญหายาเสพติดที่กำลัง แพร่ระบาดอยู่ ในขณะนี้ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงรับเป็น องค์ประธาน โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ( โครงการ TO BE NUMBER ONE )

  3. โครงการ TO BE NUMBER ONE ทรงมีพระประสงค์ เพื่อ - มุ่งเน้นการรณรงค์ในกลุ่มเยาวชนเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก โดยกลวิธี สร้างกระแสการไม่ข้องแวะกับยาเสพติด - แสดงพลังอย่างถูกต้องเป็นเสมือนการเติมสิ่งที่ดีให้กับชีวิต - การจัดตั้งชมรม “TO BE NUMBER ONE” ในสถานศึกษา และ นอกสถานศึกษาของทุกจังหวัด - ให้เกิดค่านิยมของการ “ เป็นหนึ่งได้โดย ไม่ต้องพึ่งพายาเสพติด ” - จัดระบบการบำบัดรักษารองรับภายใต้โครงการ “ใครติดยายกมือขึ้น” - คืนคนดีสู่สังคม

  4. โครงการ TO BE NUMBER ONE การดำเนินกิจกรรมในโครงการ TO BE NUMBER ONE 1. เพื่อเบนความสนใจจากการหาความสุขชั่วครั้งชั่วคราวจากยาเสพติด 2. โครงการ TO BE NUMBER ONE สำเร็จด้วยดี แต่จะทำคนเดียวไม่ได้ จึงขอความร่วมมือจากทุกคน 3. ต้องการให้ผู้เสพยา กล้าเดินเข้าโครงการฯ โดยการยกมือขึ้น เพื่อรับการบำบัดรักษา เพราะขณะนี้กฎหมายออกมารองรับแล้ว 4. ผู้ติดยา คือ คนอ่อนแอ คือ คนป่วย ซึ่งสังคมควรต้องให้กำลังใจ

  5. แนวทางการดำเนินงาน ใช้แนวทาง การบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้ง ภาครัฐ และ เอกชน โดยมีเจ้าภาพหลัก ดังนี้ 1. กระทรวงมหาดไทย 2. กระทรวงแรงงาน 3. กระทรวงศึกษาธิการ 4. กระทรวงยุติธรรม 5. กรุงเทพมหานคร 6. ป.ป.ส. 7. กระทรวงสาธารณสุข 8. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 9.กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี

  6. ยุทธศาสตร์หลัก มี 3 ยุทธศาสตร์ 1. การรณรงค์ปลุกจิตสำนึกสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 2. การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่เยาวชนและ ประชาชน 3. การสร้างและพัฒนาเครือข่าย เพื่อการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด

  7. วัตถุประสงค์ โครงการ TO BE NUMBER ONE 1. สร้างกระแสค่านิยมและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจในกลุ่มเยาวชน ไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด 2. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพเยาวชนให้เป็นคนรุ่นใหม่ที่เชื่อมั่นและ ภาคภูมิใจในตนเอง 3. สนับสนุนเยาวชนและชุมชนให้จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยการสนับสนุน ของสังคม 4. สร้างความเข้าใจและยอมรับผู้มีปัญหายาสพติด โดยให้โอกาสกลับมาเป็น คนดีของสังคม 5. เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในกลุ่มเยาวชนและประชาชนทั่วไป

  8. โครงการ TO BE NUMBER ONEมีกิจกรรมที่ดำเนินการ 1. การจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE 2. การจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE 3. การประกวดจังหวัด /ชมรม TO BE NUMBER ONE 4. การประกวดเยาวชนต้นแบบเก่งและดี TO BE NUMBER ONE 5. การประกวด TO BE NUMBER ONETEEN DANCERCISE ฯลฯ

  9. การจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ชมรม TO BE NUMBER ONE เป็นชมรมที่รวบรวมคนดี คนเก่ง และคนที่มีอุดมการณ์ที่จะสร้างกิจกรรมดีๆ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดร่วมกัน จัดตั้งชมรมฯ ขึ้นได้ทั้งใน สถานศึกษา สถานประกอบการ และชุมชน วิธีการ : รณรงค์ / ปชส. สมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE : สมัครสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE : จัดทำทะเบียนสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE (ตามแบบฟอร์ม ในเอกสารคู่มือ) : แต่งตั้งคณะกรรมการชมรม TO BE NUMBER ONE

  10. การจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE องค์ประกอบการดำเนินงานของชมรม TO BE NUMBER ONE ประกอบด้วย 3 ก.ได้แก่ 1. กรรมการ : โดยสมาชิก TO BE NUMBER ONE คัดเลือกกรรมการเพื่อบริหารจัดการชมรม มีบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างน้อย 5 คน ประกอบด้วย ประธาน รองประธาน เลขานุการ กรรมการ เหรัญญิก กรรมการชมรม แบ่งเป็น 5 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายจัดหาทุน, ฝ่ายกิจกรรม, ฝ่ายประชาสัมพันธ์, ฝ่ายรับเรื่องราวร้องทุกข์, ฝ่ายสอดส่องดูแล และประเมินผล

  11. การจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE 2. กิจกรรม : สนับสนุนให้สมาชิกใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดความภาคภูมิใจ และมองเห็นคุณค่าของตน อันเป็นหนทางห่างไกล ยาเสพติด รวมทั้งให้โอกาส และสนับสนุนการคืนคนดีสู่สังคมของสมาชิก “ ใครติดยายกมือขึ้น ” เช่น การฝึกอาชีพ และ จัดหาอาชีพให้ เป็นต้น 3. กองทุน : กรรมการและสมาชิกร่วมดำเนินการจัดตั้งกองทุน เพื่อนำเงินรายได้ หมุนเวียนใช้จ่ายในชมรม ซึ่งเป็นแนวทางสู่ความยั่งยืนของชมรม รวมถึงทรัพย์สินของชมรมด้วย

  12. กองทุน การจัดหากองทุน : จะได้มาจากที่ไหนอย่างไร : การดูจากจังหวัดต่างๆ ที่ทำได้ดี การบริหารจัดการกองทุน 1. มีกรรมการผู้มีอำนาจใน การเบิก – ถอน 2. หลักเกณฑ์การใช้เงินกองทุน 3. บัญชีธนาคารกองทุน TO BE NUMBER ONE

  13. การตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE 1. มีความพร้อม (ด้านชุมชน, สถานศึกษา, สถานประกอบการ, ผู้บริหาร, สมาชิก, ครู) 2. มีสถานที่ ไม่ต้องใหญ่โต - เป็นเพียงห้องปฏิบัติงานจัดประชุมกรรมการชมรม และ - เป็นศูนย์กลางในการติดต่อประสานงานระหว่างสมาชิกชมรม 3. การจัดตั้ง กรรมการกองทุน กี่คน ก็ได้ ให้ - เปิดรับสมัคร - มีจิตอาสา /เลือกตั้ง - มีเวลาเพื่อส่วนรวม (ผลการเรียนดี, พูดดี, มนุษยสัมพันธ์ที่ดี, เป็นผู้นำคิดริเริ่ม)

  14. การบริหารจัดการชมรม TO BE NUMBER ONE : กรรมการชมรม (สมาชิกที่ได้รับการคัดเลือก) คิดโดยเยาวชน ทำโดยเยาวชน เพื่อเยาวชน : มีการมอบหมายหน้าที่ให้กรรมการแต่ละคนทำอะไรบ้าง : จัดทำแผนงานประจำปี มีกิจกรรม, ระยะเวลา, งบประมาณ, ใครรับผิดชอบ : คณะกรรมการต้องร่วมมือกันช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ ของชมรม : ชมรมต้องยึดมั่นในรูปของคณะกรมการ ซื่อสัตย์ สุจริต : ชมรมต้องมี 1. การทำกิจกรรม เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 2. การประกวด เสนอ ผลงาน 3. ประชาสัมพันธ์

  15. ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE จัดตั้งขึ้นภายใต้ ชมรม TO BE NUMBER ONE วัตถุประสงค์ เพื่อ 1. ตอบสนองความต้องการของเยาวชน ที่ต้องการสิ่งพึ่งพาทางจิตใจ โดยเฉพาะจากผู้ที่มีความรู้ และทักษะ 2. การให้คำปรึกษาวัยใกล้เคียงกัน หรือวัยเดียวกัน 3. ช่วยเหลือให้คำแนะนำในลักษณะเพื่อนช่วยเพื่อน พี่ช่วยน้อง 4. ให้เยาวชนมีสถานที่ที่เหมาะสม ในการทำกิจกรรมที่สนใจร่วมกัน เป็นที่ยอมรับจากทุกฝ่าย

  16. ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE 5. ได้รับประสบการณ์เพิ่มพูนทักษะจาก การฝึก แก้ปัญหา และ พัฒนาภาวะความฉลาดทางอารมณ์ ( EQ ) 6. การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ศูนย์เพื่อนใจฯ : เป็นส่วนหนึ่งของ ชมรม TO BE NUMBER ONE โดยมีแนวคิดในการดำเนินงาน คือ “ ปรับทุกข์ สร้างสุข แก้ปัญหา พัฒนา EQ ”

  17. แนวคิดหลัก ปรับทุกข์สร้างสุข แก้ปัญหาพัฒนา EQ 5. ได้รับประสบการณ์เพิ่มพูนทักษะจากการฝึกแก้ปัญหา และ พัฒนาภาวะความฉลาดทางอารมณ์ หรือ EQ 6. การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ศูนย์เพื่อนใจฯ :เป็นส่วนหนึ่งของ ชมรม TO BE NUMBER ONE ศูนย์เพื่อนใจฯ : ที่จัดตั้งเป็นรูปธรรม จัดตั้งขึ้นแล้วเลิกไม่ได้ โดยมีแนวคิดในการดำเนินงาน คือ “ปรับทุกข์ สร้างสุข แก้ปัญหา พัฒนา EQ”

  18. ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE เป้าหมาย จัดตั้งและดำเนินงานศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา กลุ่มเป้าหมาย - เยาวชนในสถานศึกษา อายุ 10 – 24 ปี และ 25 ปี ขึ้นไป - อาสาสมัครแกนนำนักเรียนประจำศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE (ผู้จัดการศูนย์ & อาสาสมัครประจำศูนย์) - สมาชิกศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ที่มาใช้บริการในศูนย์ฯ

  19. ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE คุณสมบัติของกลุ่มเป้าหมาย 1.อาสาสมัครแกนนำนักเรียนประจำศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE (ผู้จัดการศูนย์ & อาสาสมัครประจำศูนย์) คุณสมบัติอาสาสมัคร - มีลักษณะของผู้ให้คำปรึกษาที่เหมาะสม - เป็นนักเรียนที่เป็นต้นแบบที่ดี เข้าถึงและจับต้องได้ น่าชื่นชมในสังคม ใกล้เคียงกัน เป็นคนที่เป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัด - เป็นแกนนำที่มาจากการคัดเลือกจากเพื่อนๆ และสมัครใจ เกิดความรู้สึก ที่ดี ภาคภูมิใจ รับความไว้วางใจ - เป็นคนที่นักเรียนคนอื่นๆ รู้สึกว่าเป็นเพื่อนคนที่มีลักษณะการคิด แบบเดียวกัน ทำให้สบายใจ และเกิดความไว้วางใจได้มากกว่า

  20. ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE คุณสมบัติของกลุ่มเป้าหมาย 2. สมาชิกศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE คุณสมบัติสมาชิก - เป็นเยาวชน อายุ 10 – 24 ปี และ อายุ 25 ปี ขึ้นไป ที่เป็นสมาชิกชมรม TO BE NUMBERONE ในสถานศึกษา ที่ร่วมดำเนินการ

  21. ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE 1. เตรียมความพร้อมในการดำเนินงาน (คน, เงิน, ของ, สถานที่) 2. เตรียมสถานที่ - สถานที่พื้นที่ในอาคารเรียน หรืออาคารอื่นๆ ที่สมาชิกเข้าใช้บริการ ได้สะดวก มีพื้นที่ 100 ตารางเมตรขึ้นไป ติดกระจกเงาสูง 2 เมตร 1 ด้าน ส่วนด้านที่เหลือให้ติดกระจกเห็นทั้งจากภายในและภายนอกห้องได้ โดยจะใช้ห้องร่วมกันกับงานอื่นก็ได้ แต่ต้องแบ่งเป็นคนละช่วงเวลาให้ชัดเจน - สถานที่สะดวกในการมาใช้/ ช่วยกิจกรรม - มีผังการบริหารงาน - มีที่เก็บเอกสาร และการ Record รายงานการประชุมต่างๆ 3. เตรียมบุคลากรที่จะดูแลและเตรียมอาสาสมัครประจำศูนย์อย่างน้อย ศูนย์ละ 4 คน/ วัน

  22. ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE 4. จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เครื่องกีฬา ดนตรี ฯ 5. อบรมอาสาสมัครประจำศูนย์ 6. จัดอบรมแกนนำอาสาสมัคร(ไม่น้อยกว่า 30 คน) เพื่อดำเนินกิจกรรม ปรับทุกข์ สร้างสุข แก้ปัญหา พัฒนา EQ ประกอบไปด้วย แกนนำอาสาสมัครทุกชั้นเรียน (ชั้นเรียนละ 10 คน) 7. อาสาสมัครประจำศูนย์ฯ (ผู้จัดการ และอาสาสมัคร) ผู้รับผิดชอบ ต้องดำเนินกิจกรรม และจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน

  23. โต๊ะทำงาน , ประชุม ตู้หรือชั้นวางของ ห้องโล่งเก็บเครื่องดนตรี,อุปกรณ์ หมายเหตุ 1: เหนือหน้าต่างให้เขียนปรับทุกข์สร้างสุขแก้ปัญหา พัฒนา EQ 2: ไม่ต้องแบ่ง Zone หรือมุมให้ใช้พื้นที่ร่วมกันตามตาราง 3: การให้คำปรึกษาให้ใช้โต๊ะญี่ปุ่นนั่งพื้นพูดคุยกันลักษณะเพื่อน 4: ยกเลิกการแบ่งห้องให้คำปรึกษาและอื่นๆตาม รูปแบบเก่าทั้งหมด 5: การตกแต่งใช้สีสันและภาพได้ตามความคิดริเริ่ม ฟิวเจอร์บอร์ดไว้แสดงนิทรรศการและ Update ข้อมูล/ภาพ หน้าต่าง กระจกใส หน้าต่าง กระจกใส ติดกระจกเงา สูงกว่าตัวคน ยาวทั้งแถบ หน้าต่าง กระจกใส เคาน์เตอร์ลงทะเบียน/ต้อนรับ ป้ายชื่อ/สัญลักษณ์ TO BE NO.1 Friend Corner คอมพิวเตอร์ / เรียนรู้ด้วยตนเอง ชุแครื่องเสียง / TV

  24. ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE รูปแบบการดำเนินงาน ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ให้บริการโดย อาสาสมัครประจำ ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ที่มีวัยใกล้เคียงกัน หรือวัยเดียวกันกับ วัยรุ่น โดยมี ผู้จัดการ และ อาสาสมัครประจำศูนย์ เป็นผู้รับผิดชอบ และ บริหารจัดการ และดำเนินกิจกรรมต่างๆ ในศูนย์ฯ ภายใต้การควบคุมดูแล ของ ที่ปรึกษา (อาจารย์ประจำศูนย์ฯ, จนท. เขตพื้นที่การศึกษา และบุคลากร สธ.)

  25. ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE ศูนย์เพื่อนใจฯมีตารางการให้บริการ อาสาสมัครประจำศูนย์ฯ ให้บริการ - บริการให้คำปรึกษา - บริการฝึกคิดแก้ปัญหาพัฒนา EQ - บริการกิจกรรมเสริมทักษะเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างสุข

  26. ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBERONE ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา จำเป็นต้องมี ศูนย์เพื่อนใจTO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ ไม่จำเป็นต้องมีศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ในชุมชน ไม่ต้องมี

  27. ข้อแตกต่างระหว่างชมรม TO BE NUMBER ONE และศูนย์เพื่อนใจTO BE NUMBER ONE

  28. ข้อแตกต่างระหว่างชมรม TO BE NUMBER ONE และ ศูนย์เพื่อนใจTO BE NUMBER ONE

  29. ข้อแตกต่างระหว่างชมรม TO BE NUMBER ONE และศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE

  30. รร.ประถมศึกษา ขยายโอกาส รร.มัธยม เขต 34 (จำนวน 33 แห่ง) รร.มัธยมเอกชน รร.ประถมศึกษา สพม. เขต 1-6 (ทั้งรัฐและเอกชน) ประชาสัมพันธ์จังหวัด สพม. เขต 34 ว.พยาบาลฯ พัฒนาสังคมฯ ว.เทคนิคเชียงใหม่ วัด ว.อาชีวศึกษา สถานศึกษา เรือนจำกลางเชียงใหม่ ภาครัฐ ว.นาฎศิลป์เชียงใหม่ ทันฑสถานหญิง ว.เทคนิคสันกำแพง สถานพินิจฯ อาชีวะศึกษา ว.เทคนิคสารภี เครือข่าย ว.การอาชีพจอมทอง สถานประกอบการขนาดใหญ่ สถานประกอบการ ว.การอาชีพฝาง ภาคเอกชน ว.สารพัดช่าง สถานประกอบการขนาดเล็ก - กลาง ชุมชน ชุมชน ชุมชน อุดมศึกษา ว.เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา ม.รัฐบาล ม.เอกชน ผู้ใหญ่บ้าน/ กำนัน ว.เทคโนโลยีเอเชีย ม.แม่โจ้ ม.เชียงใหม่ ว.เทคโนโลยีเมโทร ม.เทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา ม.ราชภัฎเชียงใหม่ ม.พายัพ ชมรมต่างๆ เทศบาลนคร ว.พานิชลานนา ม.จุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัยฯ ม.ฟาอิสเทริน เทศบาลเมือง ม.มงกุฎราชวิทยาลัย ว.พานิชเชียงใหม่ เทศบาลตำบล ม.นอร์ท อบต.

  31. การจัดกิจกรรมทั้งภายใน และภายนอกชมรมดำเนินการตามยุทธศาสตร์หลัก 3 ยุทธศาสตร์ของโครงการ 1. กิจกรรมในยุทธศาสตร์ที่ 1การสร้างกระแส เช่น - การรับสมัครสมาชิกชมรม - ประชาสัมพันธ์ชมรม - จัดกิจกรรมดนตรี, กีฬา, การประกวดกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่างๆ - การตรวจหาสารเสพติด - เข้าร่วมกิจกรรมในวันสำคัญต่างๆ ร่วมกับภาครัฐ - จัดแข่งขันกีฬาภายในและหรือกับหน่วยงานภาครัฐ/เอกชนและชุมชน - สนับสนุนทุนการศึกษา/อุปกรณ์ แก่ สถานศึกษา/ชุมชน ฯลฯ - ร่วมกับชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม

  32. การจัดกิจกรรมทั้งภายใน และภายนอกชมรมดำเนินการตามยุทธศาสตร์หลัก 3 ยุทธศาสตร์ของโครงการ 2. กิจกรรมในยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจ เช่น - การจัดตั้งชมรม/ ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE - การอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด/ โครงการ TO BE NUMBER ONE - อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี การทำบุญทางศาสนา/ ฟังเทศน์ - สืบสาน สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น การจักสาน การดนตรี การฟ้อนฯ - การจัดกิจกรรมที่ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น ฝึกอาชีพ เพื่อ หารายได้ การคัดแยกขยะ การเลี้ยงไก่ การทำสวนผสม - ช่วยสาธารณประโยชน์ เช่น จิตอาสา (จราจร สร้างฝาย ปลูกต้นไม้ฯ

  33. การจัดกิจกรรมทั้งภายใน และภายนอกชมรมดำเนินการตามยุทธศาสตร์หลัก 3 ยุทธศาสตร์ของโครงการ 3. กิจกรรมในยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างและพัฒนาเครือข่าย เช่น - สนับสนุนวิทยากร (อบรมให้ความรู้ที่เกี่ยวข้อง ), เงินทุนและอุปกรณ์ แก่ชุมชนและสถานศึกษา ฯลฯ ในการจัดตั้ง ชมรม TO BE NUMBER ONE / ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE - เป็นพี่เลี้ยง/ ที่ปรึกษาในการจัดตั้ง ชมรม /ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE แก่ชมรม อื่นๆ - สนับสนุนวิทยากรในการอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด - เปิดโอกาสให้ผู้ที่ผ่านการบำบัดยาเสพติดเข้ามาทำงานได้ ฯลฯ

  34. จัดมหกรรมรวมพลสมาชิก TO BE NUMBER ONE

  35. จัดมหกรรมรวมพลสมาชิก TO BE NUMBER ONE

  36. เยาวชนต้นแบบเก่งและดี TO BE NUMBER ONE IDOL

  37. การจัดค่ายสำหรับแกนนำการจัดค่ายสำหรับแกนนำ

  38. TO BE NUMBER ONE DANCERCISE

  39. TO BE NUMBER ONE DANCERCISE CAMP

  40. ความฝัน ของ…………..อาสาสมัคร ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE 1. อยากให้ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา เป็นอย่างไร 2. จะทำอย่างไร ให้ได้ดัง ข้อ 1. 3. จะมีภาคีเครือข่ายใดบ้างที่มาร่วมกันทำความฝันใน ข้อที่ 1. ให้เป็นจริงได้

  41. จันทร์พลอย สินสุขเศรษฐ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ โทร. 081 980 1073 สวัสดี

More Related