1 / 37

ยินดีต้อนรับคณะอาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ยินดีต้อนรับคณะอาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ตราบใดที่โลกยังหมุน ความเปลี่ยนแปลงของโลกย่อมเกิดขึ้นได้ รวมทั้ง อปท.เช่นเดียวกันย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ทั้งนี้เพื่อความเหมาะสมและการอยู่รอด ด้วยประการทั้งปวง. น้ำตกจากสันภูพาน อุทยานแห่งธรรมะ อารยธรรมห้าพันปี

Download Presentation

ยินดีต้อนรับคณะอาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับคณะอาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. ตราบใดที่โลกยังหมุน ความเปลี่ยนแปลงของโลกย่อมเกิดขึ้นได้ รวมทั้ง อปท.เช่นเดียวกันย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ทั้งนี้เพื่อความเหมาะสมและการอยู่รอดด้วยประการทั้งปวง

  3. น้ำตกจากสันภูพาน อุทยานแห่งธรรมะ อารยธรรมห้าพันปี ธานีผ้าหมี่ขิด แดนเนรมิตหนองประจักษ์ เลิศลักษณ์กล้วยไม้หอมอุดรซันไฌน์

  4. การคลังท้องถิ่น พรบ.กำหนดแผนขั้นตอนกระจายอำนาจ รัฐธรรมนูญ พรบ.อบจ. การวางแผนพัฒนา นโยบายนายก อบจ. ตราข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย การพัสดุ การคลัง

  5. รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ,2550 • รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 หมวด 9 การปกครองท้องถิ่น ม.284 “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหลาย ย่อมมีความเป็นอิสระ ในการกำหนดนโยบายการปกครอง การบริหาร การบริหารงานบุคคล การเงิน และการคลัง และมีอำนาจหน้าที่ของตนเองโดยเฉพาะ” กทม. เมืองพัทยา อบจ. อบต. เทศบาล

  6. พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจ พ.ศ.2542 • จากรัฐธรรนูญ กำหนดไว้ เพื่อพัฒนาการกระจายอำนาจเพิ่มขึ้น ให้แก่ท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง ให้มีกฎหมายกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ โดยมีสาระสำคัญ คือ การจัดสรรสัดส่วนภาษี และอากรระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยคำนึงถึงภาระหน้าที่ของรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันเองเป็นสำคัญ • การจัดสรรภาษีและอากร คณะกรรมการกระจายอำนาจต้องนำมาทบทวนใหม่ทุก ๆ ระยะเวลา ไม่เกินห้าปี นับตั้งแต่วันที่มีการจัดสรรภาษีและอากรแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ต้อง คำนึงถึงการกระจายอำนาจเพิ่มขึ้นให้แก่ท้องถิ่นเป็นสำคัญ

  7. สาระสำคัญการกำหนดสัดส่วนรายได้ตาม พรบ.กำหนดแผนขั้นตอนกระจายอำนาจ • กำหนดให้ อปท.มีสัดส่วนรายได้ต่อรายได้ของรัฐบาล • ในช่วงระยะเวลาไม่เกิน พ.ศ.2548ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 • ในช่วงระยะเวลาไม่เกิน พ.ศ. 2549 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 • นอกจากนี้ได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์การกำหนดการจัดสรรรายได้ให้ อปท.ไม่ว่าจะเป็นภาษีมูลค่าเพิ่ม การจัดสรรภาษีธุรกิจเฉพาะ การจัดเงินภาษีสุราและภาษีสรรพสามิต การจัดสรรภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน ค่าภาคหลวงแร่และค่าภาคหลวงปิโตรเลียม(กำหนดโดยคณะกรรมการ)

  8. กระจายอำนาจหน้าที่ • รัฐธรรมนูญ กำหนดอำนาจ หน้าที่ ระหว่างรัฐกับ อปท.และระหว่าง อปท.ด้วยกันเอง ให้เป็นไปตามกฎหมายที่บัญญัติ • การกระจายอำนาจเพิ่มขึ้น ให้แก่ท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง ให้มีกฎหมายกำหนด • ต้องมีการทบทวนใหม่ทุกระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี • อำนาจบางอย่างมาอยู่ในท้องถิ่น ของกระทรวงทบวงกรม เช่น การศึกษา ทางหลวงท้องถิ่น รพช.

  9. อำนาจหน้าที่และรายได้ของ อบจ. • ตาม พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจ 2542 • ตาม พรบ.อบจ. 2540 • ข้อสังเกต พรบ.อบจ.ใช้บังคับก่อน แต่ รัฐธรรมนูญ ใช้ 2540 พรบ.อบจ.เป็นไปตาม รัฐธรรมนูญ 2540 และต่อมาต้องมาปฏิบัติตาม พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจ • เกิดปัญหา ขึ้น ความเข้าใจในเรื่องบทบาทอำนาจหน้าที่ของ อบจ.ยังไม่ชัดเจน ถึงขนาดฟ้องร้องเพิกถอนกันต่อศาลปกครองว่าไม่เป็นไปตามอำนาจหน้าที่

  10. ประกาศคณะกรรมการกำหนดแผนฯประกาศคณะกรรมการกำหนดแผนฯ • ต่อไปนี้ อบจ.ต้องดำเนินการในเรื่องดังต่อไปนี้ • โครงการเชื่อมต่อระหว่าง อปท.ตั้งแต่สองแห่งขึ้นไป • ประชาชนสอง อปท.สองแห่งได้รับประโยชน์ • เป็นโครงการในภาพรวม

  11. พื้นที่รับผิดชอบเขตจังหวัด 20 อำเภอ ประชากร

  12. ผู้บริหารกำหนดนโยบาย • จากรัฐธรรมนูญ 2540 • ปรับเปลี่ยนโครงสร้างฝ่ายบริหาร กำหนดให้ ผู้บริหารมาจากการเลือกตั้งโดยตรง (นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมาจากการเลือกตั้งโดยตรง เลือกครั้งแรก เมื่อ 2547) • ตาม พรบ. อบจ. 2540 ม. 39 กำหนดให้นายก อบจ.ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารกิจการของ อบจ.ตามกฎหมาย • ก่อนเข้ารับตำแหน่งและบริหารงานของนายก นายกต้องแถลงนโยบายต่อสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด

  13. นโยบายของนายหาญชัย ฑีฆธนานนท์นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี

  14. 1.นโยบายด้านการศึกษา (สร้างโอกาส การศึกษา กีฬาให้ก้าวหน้าและเท่าเทียมกัน)

  15. 2.นโยบายด้านเศรษฐกิจ(ร่วมคิด ร่วมทำ นำชีวิตสู่เศรษฐกิจพอเพียง)

  16. 3.นโยบายด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ (พัฒนาแหล่งน้ำทุกชุมชน แก้จนทุกครัวเรือน)

  17. 4.นโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน (ถนนดีถ้วนทั่ว ทุกครอบครัวก้าวไกล)

  18. 5.นโยบายด้านการจัดสวัสดิการชุมชน (สวัสดิการชุมชนที่ทุกคนเข้าถึง และเป็นธรรม

  19. 6.นโยบายด้านสังคม(สังคมปลอดภัย ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนน่าอยู่

  20. 7.นโยบายด้านการเพิ่มผลผลิต (เพิ่มผลผลิตพิชิตน้ำมันแพง)

  21. 8นโยบายด้านการร่วมคิด ร่วมสร้าง (ร่วมคิด ร่วมสร้าง ร่วมประสานนโยบายสู่การพัฒนา)

  22. โครงสร้างการบริหารงานของ อบจ. ฝ่ายบริหาร ฝ่ายสภา อบจ.

  23. โครงสร้างฝ่ายบริหาร นายหายชัย ฑีฆธนานนท์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี นายธนกฤต อภิไกรสิน เลขานายกองค์การฯ ที่ปรึกษานายกองค์การฯ พล.ต.ต.เสริมศักดิ์ แก้วกันทา รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี ว่าที่ร้อยตรี อัครวิทย์ หมื่นกุล รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด หน่วยตรวจสอบภายใน รองปลัดองค์การบริหารส่วดนจังหวัด กองกิจการสภา สน.ปลัดอบจ. กองแผนและงบประมาณ กองการศึกษา โรงเรียนในสังกัด 8 โรงเรียน กองช่าง กองพัสดุและทรัพย์สิน กองคลัง

  24. โครงสร้างฝ่ายสภา อบจ.อุดรธานี นางเทียบจุฑา ขาวขำ ประธานสภา ด.ต.ธงชัย วัฒพจน์ รองประธานสภา นายคณิศร ขุริรัง รองประธานสภา สมาชิกสภา 42 เขต คณะกรรมการประจำสภา อบจ.17 คณะ

  25. การวางแผนไปสู่เป้าหมายตามนโยบายที่กำหนดโดยผู้บริหาร (นายก อบจ.) • กำหนดวิสัยทัศน์ • กำหนดพันธกิจ • กำหนดวัตถุประสงค์ • กำหนดเป้าหมาย • กำหนดยุทธศาสตร์ • กำหนดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม • กำหนดตัวชี้วัด

  26. การตราข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีการตราข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี • ข้อบัญญัติ คือ กฎหมายของท้องถิ่นที่ตราขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผลใช้บังคับในท้องถิ่นนั้น ๆ • ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี คือ กฎหมายของท้องถิ่นเกี่ยวรายได้และรายจ่ายของท้องถิ่น ที่จะนำมาใช้จ่ายในแต่ละปี ตั้งแต่ปีงบประมาณ 1 ตุลาคม ของปีนั้น ๆ จนถึง 30 กันยายน ของปีถัดไป • เสนอโดยฝ่ายบริหาร สภาเป็นผู้ให้ความเห็นชอบ (กฎหมายบังคับให้เสนอภายในวันที่ 15 สิงหาคมของทุกปี ทั้งนี้ เพื่อนำเงินออกไปใช้จ่ายได้ตามกำหนด

  27. โครงสร้างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีโครงสร้างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประมาณการรายรับ ประมาณการรายจ่าย งบกลาง รายจ่ายประจำ ไม่เกิน 40เปอร์เซนต์ รัฐบาลจัดสรรให้ เงินสำรองจ่าย เงินเดือนค่าจ้าง เงินกู้ ดอกเบี้ย รัลบาลจัดเก็บและจัดสรรให้ ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ สมทบกองทุนเงินสะสม สาธารณูปโภค อบจ.จัดเก็บเองโดยตราข้อบัญัตติที่เกี่ยวข้อง รายจ่ายเพื่อการลงทุน เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อนสร้าง (นำมาจากแผนพัฒนา อบจ.) เงินสะสม อุดหนุนส่วนราชการอื่น

  28. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานีให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานีให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี

  29. สาระสำคัญของข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีสาระสำคัญของข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี • ใช้จ่ายให้เป็นไปตามบทบาทอำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดไว้ คือ • พรบ.อบจ.และ พรบ.กำหนดแผนขั้นตอนกระจายอำนาจ • โครงการต้องบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาของอบจ. • เสนอสภาให้ได้ภายใน 15 สิงหาคม ของทุกปี ไม่ทันสภาอนุมัติขยาย • ผู้ว่าราชการจังหวัดตรวจสอบและอนุมัติ • นายกประกาศใช้ • ประกาศให้ประชาชนได้รับทราบในการใช้จ่ายเงิน

  30. จากรายรับย้อยหลังเปรียบเทียบกับศักยภาพด้านการคลังของ อบจ. • รายได้จากเงินที่รัฐบาลจัดสรรให้ หรือจัดเก็บและจัดสรรให้หรือเงินอุดหนุน มีสัดส่วนที่สูงกว่ารายได้ที่ อบจ.จัดเก็บเองค่อนข้างมาก แสดงให้เห็นว่า อบจ.ยังต้องพึ่งพาอาศัย งบประมาณจากรัฐบาลกลางอยู่ • ข้อสังเกตอีกประการหนึ่ง การจัดเก็บภาษีบำรุง อบจ.ในเรื่อง ภาษีบำรุง อบจ.จากผู้ค่าน้ำมัน ยังมีการต่อต้านจากผู้ประกอบการ และบางจังหวัดหรือแม้จังหวัดใกล้เคียงกันก็เก็บไม่เหมือนกันทำให้เกิดข้อเปรียบเทียบของผู้เสียภาษี

  31. พัสดุ • จัดทำแผนดำเนินการ เพื่อกำหนดระยะเวลาในการดำเนินการตามโครงการต่าง ๆ ที่บรรจุอยู่ในข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี • กองพัสดุจัดซื้อจัดจ้างตามโครงการ โดยตรวจสอบสถานการคลังในเรื่องรายได้ เพื่อทำสัญญาจ้างหรือซื้อต่อไป

  32. นโยบายด้านการคลังโดยภาพรวมนโยบายด้านการคลังโดยภาพรวม • สร้างประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้ เน้นการใช้จ่ายที่ประหยัด คุ้มค่า • และเป็นไปตามบทบาทอำนาจหน้าที่ของ อบจ.

  33. นโยบายด้านรายจ่ายเงิน(กองคลัง)นโยบายด้านรายจ่ายเงิน(กองคลัง) • เบิกจ่ายเงินให้กับคู่สัญญา เมื่อดำเนินการเสร็จตามสัญญาจ้างตามกำหนดระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด • เบิกจ่ายเงินเดือนค่าจ้าง ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ สาธารณูปโภค ครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รวมทั้งเงินอุดหนุนหน่วยงานอื่น • เน้นการใช้จ่ายเงินที่ประชาชนได้รับประโยชน์ตามโครงการนั้น ๆ ตามระยะเวลาที่ควรจะเป็น

  34. การติดตามการใช้จ่ายงบประมาณการติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ • แต่งตั้งคณะกรรมการออกติดตามการใช้จ่ายเงิน • การใช้จ่ายเงินเป็นไปตามแผนและยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้หรือไม่ • การใช้จ่ายก่อให้เกิดประโยชน์คุ้มค่ากับการลงทุนหรือไม่

  35. สรุป • ถามว่าวันนี้ อบจ.กับรายได้ที่ได้รับ กับบทบาทอำนาจหน้าที่และเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ รวมทั้งประชาชน งบประมาณที่ได้รับจัดสรรปีละประมาณ 600 ล้านบาท เป็นรายจ่ายประจำถึงแม้นไม่มาก และรายจ่ายเพื่อการพัฒนา ปัญหาความเดือดร้อนของพี่น้องประชาชนที่มากเมื่อเปรียบเทียบกับรายได้ถ้าจะพูดไปก็ถือว่าน้อยมาก ดังนั้น การใช้จ่ายงบประมาณจึงต้องเน้นและให้ความสำคัญของปัญหาซึ่งมีการพิจารณาจัดทำแผน เพื่อเป็นกรอบและยุทธศาสตร์ในการใช้จ่ายเงินให้เป็นไปอย่างคุ้มค่าเกิดประโยชน์ต่อประชาชนมากที่สุด ประกอบกับนโยบายการกระจายรายได้ให้ท้องถิ่นซึ่งมีการพิจารณาเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัย

  36. นโยบายด้านการคลัง (ด้านรายรับ) • เน้นการสร้างประสิทธิภาพในด้านการจัดเก็บภาษีขององค์การบริหารส่วนจังหวัด เพื่อให้ได้เม็ดเงินเต็มเม็ดเต็มหน่วย โดยการนำเทคโนโลยีมาใช้ ไม่ว่าจะ เป็น แผนที่ภาษี การสร้างแรงจูงใจในการเสียภาษีของผู้ประกอบการ การอำนวยความสะดวกในการเสียภาษี การให้รางวัล เป็นต้น • เพิ่มพูนความรู้ให้บุคลากรในการจัดเก็บภาษี และสร้างทีมงานในการจัดเก็บภาษีในการออกจัดเก็บภาษีหรือให้บริการในลักษณะเคลื่อนที่ • เช่น ออกจัดเก็บให้บริการตามโครงการ อบจ.พบประชาชนทุกอำเภอ • ให้บริการเสียภาษีแบบ One stop service

  37. กราบขอบพระคุณคณะอาจารย์และนักศึกษาที่ได้ให้ความสนใจในกิจการงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่เดินทางมาศึกษาดูงานในครั้งนี้กราบขอบพระคุณคณะอาจารย์และนักศึกษาที่ได้ให้ความสนใจในกิจการงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่เดินทางมาศึกษาดูงานในครั้งนี้

More Related