1 / 59

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถาบันการศึกษา

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถาบันการศึกษา. โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มกราคม2550 โรงแรม จ เพชรบูรณ์. สาระ. การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงคือส่วนหนึ่งของงานสร้างคุณธรรมผ่านกิจกรรมนักศึกษา หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง แนวบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพียงในสถาบันการศึกษา

eldora
Download Presentation

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถาบันการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถาบันการศึกษาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถาบันการศึกษา โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มกราคม2550 โรงแรม จ เพชรบูรณ์

  2. สาระ • การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงคือส่วนหนึ่งของงานสร้างคุณธรรมผ่านกิจกรรมนักศึกษา • หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง • แนวบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพียงในสถาบันการศึกษา • แหล่งค้นหาตัวอย่างและข้อมูลดีๆ

  3. ปัญหาและพฤติกรรมเด็กไทยดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ ผอ.สถาบันรามจิตติ 2549 โครงการChild Watch • วัยรุ่นดื่มเหล้า สูบบุหรี่ในอัตราสูง เด็กม.ต้นถึงอุดมศึกษา ดื่มเหล้าเป็นครั้งคราวถึงเป็นประจำร้อยละ 36 และสูบบุหรี่ร้อยละ 17 เด็กอาชีวศึกษาครองแชมป์เรื่องสูบบุหรี่ร้อยละ 23 ส่วนเด็กมหาวิทยาลัยครองแชมป์เรื่องกินเหล้าร้อยละ 47 • เด็กมัธยมถึงอุดมศึกษาเสพสื่อลามกประเภทวีซีดีโป๊ และเว็บโป๊เป็นครั้งคราวถึงเป็นประจำ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 39 และ 27 เป็นร้อยละ 41 และ 30 • การพนันพบว่า อัตราเด็กมัธยมถึงอุดมศึกษาเล่นการพนันและหวยบนดินยังคงที่จากปีที่แล้ว ร้อยละ 17 และ 20 16

  4. อายุต่ำกว่า 19 คลอดลูกปีละ 70,000ราย • จังหวัดใดมีอัตราดื่มสุราของวัยรุ่นสูง จะมีอัตราเสพสื่อลามกและมีเพศสัมพันธ์สูงตามไปด้วย • ปัญหาเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาน่าห่วง วัยรุ่นต่ำกว่า 19 ปี มาทำคลอดเฉลี่ยเกือบวันละ 200 คน หรือกว่า 70,000 คน/ปี และเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 14 ปี ถึงกว่า 2,000 คน • อุบัติเหตุจากการดื่มเหล้ายังคงสูงอยู่ มีเยาวชนอายุต่ำกว่า 25 ปี เสียชีวิตเฉพาะจากอุบัติเหตุมอเตอร์ไซค์อย่างเดียวเกือบวันละ 20 ราย หรือปีละกว่า 7,000 คน เกือบครึ่งหนึ่งดื่มสุรามึนเมามาก่อนเกิดเหตุ • สิ่งเหล่านี้ล้วนชี้ว่าเด็กไทยยังขาดทักษะการใช้ชีวิตอย่างปลอดภัย ซึ่งเป็นหน้าที่ของทั้งครอบครัวและสถาบันการศึกษาต้องช่วยกันเสริมสร้างทักษะการใช้ชีวิตให้แก่เด็ก 17

  5. เด็กไทยสำลักเสรีภาพ • ปัจจุบันครอบครัวเหินห่างลูกมากขึ้น พบเด็กวัยเรียนระดับมัธยมขึ้นไปเกือบร้อยละ 30 ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ และยิ่งโตขึ้นอยู่ในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ยิ่งใช้ชีวิตอิสระมากขึ้น กลายเป็นใช้เสรีภาพเกินความเหมาะสม • โรงเรียนแม้จะส่งเสริมเรื่องระบบการดูแลผู้เรียน แต่ยังขาดประสิทธิภาพดีพอในการดูแลเด็กที่มีพฤติกรรมเสี่ยง จึงจำเป็นที่โรงเรียนต้องหันมาช่วยส่งเสริมเรื่องทักษะการใช้ชีวิต และการดูแลผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้มากขึ้น โดยเฉพาะเด็กกลุ่มเสี่ยงที่มีแววเสีย ซึ่งจะเห็นได้จากผลการเรียนตกต่ำ โดดเรียนบ่อย มีปัญหากับครูประจำชั้น 18

  6. ตีแผ่พฤติกรรม“วัยโจ๋”ดีสุดขั้ว มั่วสุดขีด ปี2549 • ต่อมยางอายวิกฤติ แต่งตัวใส่เสื้อไซส์ SSS กางเกง “เอวต่ำ-เป้าสั้น” ไม่อายต่อการแสดงออก • “จับคู่ อยู่กิน”“จับกลุ่มมั่วเซ็กซ์” • ชีวิตติดไฮโซ ต้องแบรนด์เนม

  7. สถานการณ์พฤติกรรมเยาวชนในส่วนที่ ศธ รับผิดชอบ เป้าหมาย: ส่งเสริมคุณธรรมนักเรียนนักศึกษาภายในปี 2550 W O • กระแสตื่นตัวของเครือข่ายองค์กร ชุมชน องค์กรภาคเอกชนและผู้ปกครองเข้มแข็งกว่าเดิม • สถานศึกษามีคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต เทคโนโลยีในการสื่อสาร กระจายข้อมูล • นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีศธ.ให้ความสำคัญต่อการแก้ปัญหาสังคม • มิติพฤติกรรมเยาวชนน่าตกใจ :ปัญหารุนแรง /ยังไม่มีมาตรการแก้ไขจริงจัง • คนมอง ศธ ในแง่ลบ: ปฏิรูปการศึกษาล่าช้า/ ปฏิรูปแต่วิชาการอ่อนด้อยทางคุณธรรม • ยังไม่ดำเนินงานตามพ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546:ยังขาดพนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤติ/ ยังไม่ออกกฎกระทรวง/ จำนวนสารวัตรนักเรียนมีน้อยไม่ทั่วถึง ไม่ทันเหตุการณ์ S • ยังขาดกลไกประสานเชื่อมโยงภายใน5องค์กรหลักของกระทรวงศึกษาธิการเองและข้ามกระทรวง • ขาดระบบติดตาม ประเมินผล การรายงานความก้าวหน้าของสถานศึกษา • บุคลากรขาดทักษะการทำงานเชิงยุทธศาสตร์/ งานเชิงรุกเมื่อปฏิบัติจริงกลับกลายเป็นทำงานเชิงรับ/งานขาดทิศทาง T • มีครู นักเรียน และผู้ปกครอง รวมกว่า 12ล้านคน ที่สามารถส่งข้อมูลข่าวสารถึงตัว • มีครูที่มีความรู้ เป็นต้นแบบจริยธรรมหรือ • ปูชนียบุคคลของนักเรียนนักศึกษา และครูเป็นผู้นำชุมชน เป็นที่ยอมรับนับถือจากผู้ปกครอง • . มีงบประมาณเดิมจากแผนงานยาเสพติด โรคเอดส์ งบกีฬา จัดหาเพิ่มบางส่วนได้

  8. วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมเด็กและเยาวชน 2. รณรงค์สื่อสารกับสังคม มิติเชิงตัวปัญหา 1.เพศสัมพันธ์ 2.เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด 3. ความรุนแรงยกพวกตีกัน ฆ่าตัวตาย 4.การพนัน 5. เที่ยวเตร่สถานบันเทิง 6.เกม อินเตอร์เน็ต 7.สื่อลามก 8. ขับรถซิ่ง รวมแก๊งก่อกวน 9.ครอบครัวไม่ดูแล มิติเชิงยุทธศาสตร์ 1.มีตัวยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน 2.มีเจ้าภาพ / หน่วยงานรับผิดชอบดูแลเชิงยุทธศาสตร์/ความรู้/การอำนวยการ 3.มียุทธศาสตร์เฉพาะในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่อง เฉพาะกลุ่ม ขอบข่ายการ ขับเคลื่อนกระบวนการส่งเสริมคุณธรรมของ กระทรวงศึกษาธิการ มิติการเคลื่อนไหวแบบบูรณาการ 1.ประเด็น/เรื่อง 2. พื้นที่ /เขต/ จังหวัด /สถานศึกษา . 3.องค์กร 4ระบบสนับสนุน

  9. ลักษณะนิสัยประจำชาติไทยลักษณะนิสัยประจำชาติไทย รักสงบ เคารพอาวุโส ชอบบันเทิง เมตตากรุณา ผักซีโรยหน้า เป็นคนใจกว้าง อ่อนน้อมถ่อมตัว ช่างอดช่างทน กตัญญูกตเวที ชอบมีอภิสิทธิ์ จิตใจเอื้ออารี โอนอ่อนผ่อนตาม มีความเกรงใจ ให้อภัยเสมอ เคร่งครัดเคารพพระมหากษัตริย์ ค่านิยมต้องสร้างให้เด็กไทย ทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม ทำงานไปด้วยเรียนด้วย รู้จักคิดไม่เชื่อง่าย ไม่กินเหล้าสูบบุหรี่ก็เท่ได้ ทันสมัยด้วยเทคโนโลยีใหม่ มั่นใจในวัฒนธรรมและความเป็นไทย ค่านิยมต้องสร้างให้พ่อแม่ ดูแลเอาใจใส่ ให้ความอบอุ่น เป็นแบบอย่างที่ดี รับฟังพร้อมให้เวลาและคำปรึกษา ชมเชยเมื่อทำดี แก้ไขเมื่อทำพลาด เป็นครูคนแรก ค่านิยมต้องสร้างให้ครูไทย อบรมสั่งสอนอย่างกัลยาณมิตร เป็นพ่อแม่คนที่สอง ฝึกทักษะชีวิต ให้คำแนะนำในการเรียน และการสร้างอนาคต

  10. 1.สร้างสมรรถนะองค์กร ศ.ธ. 2.สร้างภาคีเครือข่าย 3.สื่อสารกับสังคม ทุกคนร่วมกิจกรรมคุณธรรม 5.ยุทธศาสตร์ตาม ประเด็นเฉพาะ 4.การบริหารจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมคุณธรรมของเด็กและเยาวชน

  11. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง • ปี2550 การบริหารตามนโยบายรัฐบาล + กระทรวงศึกษาธิการ โดยหลักชูคุณธรรมนำความรู้ –วิถีประชาธิปไตย(สถานศึกษาเป็นศูนย์กลางประชาธิปไตย/สอดแทรกในการสอน/จัดกิจกรรมสภานักเรียน /เรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น /มีเครือข่ายถ่ายทอดความรู้) • สมานฉันท์(จิตสำนึกเป็นพวกเดียวกัน/ มีเอกภาพในความหลากหลาย/เป็นมิตรต่อกัน / พึ่งพาอาศัยกัน/ไว้วางใจกัน/สร้างพลังร่วมของหมู่คณะ) - สันติสุข( คารวะธรรม / ปัญญาธรรม / สามัคคีธรรม) - เศรษฐกิจพอเพียง(พอประมาณ / มีเหตุผล / มีภูมิคุ้มกันในตัว)

  12. ทิศทางใหม่การจัดการศึกษาในยุโรปเริ่มตั้งแต่ปี 2004 เน้นการสร้างวิถีประชาธิปไตยและหน้าที่พลเมือง 1. ให้เข้าถึงข้อมูลกฎหมาย ข่าวสารผ่านอินเตอร์เน็ต,นสพ.,วิทยุ.ทีวี จัดทำโดยนักเรียน 2. เน้นให้สถาบันการศึกษาส่งเสริมการร่วมพัฒนานโยบาย 3. ให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมชมรม/กิจกรรมสังคม 4.ส่งเสริมสิทธิและประชาธิปไตยในสถานศึกษา เปิดให้นักเรียน ประเมินสถานศึกษาผ่านอินเตอร์เน็ตได้ 5. ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักสิทธิเด็กตามกฎหมาย 52

  13. การทำงานแบบการสร้างเครือข่ายและสมานฉันท์การทำงานแบบการสร้างเครือข่ายและสมานฉันท์ • ทำบันทึกผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างหน่วยงาน/ผู้ร่วมงาน • ทำบัญชีรายชื่อหน่วยงานเกี่ยวข้อง / ทำบัญชีเว็บไซต์ • ไปเยี่ยมศึกษาดูงานแลกข้อมูลซึ่งกันและกัน • บทบาทผู้ให้และผู้รับทุนสนับสนุน • ขอใช้เป็นแหล่งวิชาการหรือฝึกอบรม • มีกลุ่มเครือข่ายแม่ข่ายลูกข่าย • ทำโครงการร่วมกันตามเงื่อนไขที่ตกลงกัน 13

  14. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง ระยะเวลาของสร้างคุณธรรมในระบบการศึกษาไทย - งาน 3 ระยะ 1. ร่วมคิด -- ร่วมเข้าใจตรงกัน 2. ร่วมวางแผน – แบ่งงานกันทำ 3. ร่วมทำ –รณรงค์ - เห็นผล ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ 1. สร้างครอบครัวอบอุ่นมาร่วมมือโรงเรียนและชุมชน บ้าน-วัด-โรงเรียน 2. สร้างวัฒนธรรมสถานศึกษา 3. สร้างเครือข่ายสังคม

  15. การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้ การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้ 1.ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมขั้นพื้นฐาน : ความรับผิดชอบ + ทำงานร่วมกับผู้อื่น 2.จัดกิจกรรมครอบคลุมทั้ง การคิด+ พฤติกรรมที่ทำ+ เกิดความรู้สึก 3.ใช้วิธีส่งเสริมแบบบูรณาการให้เกิดความคิดในเชิงบวก 4. สร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่อบอุ่น 5. สร้างโอกาสการเรียนรู้เชิงคุณธรรมให้แก่นักเรียน 43

  16. การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมเชิงสร้างสรรค์การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมเชิงสร้างสรรค์ 6.สอดแทรกคุณธรรมทุกวิชาและ ให้เกียรตินักเรียน 7.กระตุ้นให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 8.กระตุ้นครูทุกคนเป็นแบบอย่างที่ดีของศิษย์ 9.สร้างกิจกรรมนักเรียนในการเป็นผู้นำที่มีคุณธรรม 10.ขอความร่วมมือผู้ปกครองและชุมชน สนับสนุนการทำดีของลูก 11.การประเมินความสำเร็จของโรงเรียนให้ ประเมินจากพฤติกรรมของเด็กนักเรียน 44

  17. ณ ปัจจุบัน คนไร้ศีลธรรมทำลายสิ่งแวดล้อมไม่ชอบพึ่งตนเองรายได้ต่ำรสนิยมสูงมุ่งแต่ประโยชน์ส่วนตนไม่อดทดและอดออมซื้อทุกอย่างที่ขวางหน้ามักง่ายไม่มีความพอรอพึ่งคนอื่นปล่อยตัวปล่อยใจตามแรงกระตุ้นของวัตถุนิยมฯลฯ เกิดมาจากความโลภ ขาดวินัยฯทั้งสิ้น แต่เรายังมีหนทางแก้ไข ถ้าเราใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ

  18. โครงการการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถานศึกษา เศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ สถานศึกษา

  19. เศรษฐกิจพอเพียง กรอบความคิดเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำ”พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (วารสารชัยพัฒนา)

  20. หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว เงื่อนไขความรู้(รอบคอบ รอบรู้ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม(ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน) ชีวิตเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สมดุล มั่นคง และยั่งยืน

  21. หลักปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงหลักปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยพื้นฐาน คือการพึ่งตนเองเป็นหลัก พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร สมเหตุสมผล การสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสมดุล ครอบคลุมทั้งทางด้านจิตใจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ

  22. หลักของความพอประมาณ (พอดี)5ประการ ข้อสรุปของสภาพัฒน์ฯ เข็มแข็ง มีจิตสำนึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม พอดีด้านจิตใจ พอดีด้านสังคม ช่วยเหลือเกื้อกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน พอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ และเกิดความยั่งยืนสูงสุด รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องต่อความต้องการเป็นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและพัฒนาจากภูมิปัญญาชาวบ้านก่อน พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน สมควรตามอัตตาภาพและฐานะของตน

  23. หลักของความมีเหตุผล ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีพ ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพ ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในทางการค้าขายประกอบอาชีพ แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง ไม่หยุดนิ่งที่หาทางในชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก สิ่งยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป ไม่ก่อความชั่วให้เป็นเครื่องทำลายตัวเอง ทำลายผู้อื่น พยายามเพิ่มพูนรักษาความดี ที่มีอยู่ให้งอกงามสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

  24. หลักของความมีภูมิคุ้มกันหลักของความมีภูมิคุ้มกัน มีความรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต ขยันอดทนและแบ่งปัน

  25. วัตถุประสงค์ ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาทุกระดับทั้งในและนอกระบบ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารองค์กร บริหารการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ สู่การดำรงชีวิต เฉลิมฉลองพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ให้สถานศึกษาเป็นศูนย์กลางแหล่งเรียนรู้ในชุมชน สร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตที่พอเพียง

  26. เป้าหมาย สร้างกระบวนการเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแก่บุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ ระยะแรก2549-2550 สร้างความรู้ความเข้าใจและกระแสสนับสนุนเกี่ยวกับปรัชญาฯ สร้างผู้นำ สถานศึกษาต้นแบบ เกิดการพัฒนาและสร้างคนที่มีความรู้ความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถ่องแท้

  27. ขยายผลสู่สถานศึกษาระดับองค์กรหลักขยายผลสู่สถานศึกษาระดับองค์กรหลัก องค์กรหลักนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในทุกมิติ และขับเคลื่อนสู่หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด อย่างจริงจังและต่อเนื่อง เชิญชวนโรงเรียนเข้าร่วมโครงการโดยความสมัครใจ ระยะสอง2550 เป็นต้นไป ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ ติดตามประเมินผลและรายงานผล นำทูลเกล้าร่วมเฉลิมฉลองในพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา กำหนดเป็นนโยบายต่อเนื่องสู่การปฏิบัติและยั่งยืน

  28. ขั้นตอนการดำเนินงานตามโครงการขั้นตอนการดำเนินงานตามโครงการ 1. การขับเคลื่อนในระดับกระทรวง แต่งตั้งคณะกรรมการ / คณะทำงาน สร้างพลังเครือข่ายแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ด้วยสื่อรูปแบบต่างๆ

  29. 2. การขยายผลสู่สถานศึกษาระดับองค์กรหลัก องค์กรหลักนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในทุกมิติ และขับเคลื่อนสู่หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด อย่างจริงจังและต่อเนื่อง เชิญชวนโรงเรียนเข้าร่วมโครงการโดยความสมัครใจ ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์และระดับความสำเร็จที่กำหนด

  30. 3. การติดตามประเมินผลและรายงานผล 4. นำทูลเกล้าร่วมเฉลิมฉลองในพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 80 พรรษา 5. กำหนดเป็นนโยบายต่อเนื่องสู่การปฏิบัติและ ยั่งยืน

  31. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  32. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  33. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  34. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  35. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  36. หลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียง ป.1 ปฏิบัติตนดี มีความพอเพียง –รับผิดชอบตนเอง- ใช้เงินประหยัด- รู้จักออม- รู้จักแบ่งปัน ป.2 ชีวิตสดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพียง – รับผิดชอบต่อครอบครัว- มีวินัยการจ่าย- ชื่นชมปฏิบัติตนพอเพียง ป.3 ภูมิใจในตน ชุมชนของเรา – รับผิดชอบต่อชุมชุม - ประหยัด - วิเคราะห์รายรับรายจ่ายตนเอง - มีส่วนร่วมภูมิใจชีวิตครอบครัว

  37. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง ป4. ชีวิตมีคุณค่า พึงพอเศรษฐกิจพอเพียง – เข้าใจรายรับ –รายจ่าย • สำรวจภูมิปัญญาชาวบ้าน -วิเคราะห์พระราชดำริเรื่องวินัย + หิริโอตตัปปะปะ ป.5ชีวิตพอเพียงไม่เสี่ยงความยากจน - นำหลักเศรษฐกิจมาใช้ ในครอบครัว - วิเคราะห์ชุมชน - ร่วมอนุรักษ์/ช่วยเหลือชุมชน- วิเคราะห์พระราชดำริเรื่องขยัน/ซื่อสัตย์ ป.6- วิถีชีวิตไทยภูมิใจเศรษฐกิจพอเพียง • เข้าใจชุมชน/ออกสำรวจชุมชน - นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเปรียบเทียบกับครอบครัว - วิเคราะห์พระราชดำริเรื่อง สามัคคี + พึ่งตนเอง

  38. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง ม.1 ตามรอยพ่อต่ออายุทรัพยากร • - เข้าใจปรัชญา - นำแนวคิดมาใช้กับตนเอง ม.2 รอบรั้วบ้านเรา • - สำรองปัญหาของชุมชน • เสนอข้อแก้ไขปัญหาชุมชน ม.3 ชุมชนพัฒนา - เข้าใจเศรษฐกิจไปสัมพันธ์สิ่งแวดล้อม+วัฒนธรรม - มีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาชุมชน

  39. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 เศรษฐกิจพอเพียงกับชุมชน - เข้าใจการบริหารองค์กรวิสาหกิจชุมชน - นำแนวทางวิสาหกิจชุมชนมาใช้ในชีวิต ม.5 เศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาประเทศ • - เข้าใจนำไปพัฒนาประเทศ • - นำปรัชญาระดับชาติมาใช้ในชีวิตตนเอง ม.6 เศรษฐกิจพอเพียงกับโลกาภิวัตน์ - เข้าใจโลกาภิวัตน์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • เข้าใจการพัฒนาประเทศให้สมดุล • - ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน

  40. ระยะเวลาดำเนินการ ระยะแรก ปีงบประมาณ 2549 - 2550 ระยะสอง ปีงบประมาณ 2550 เป็นต้นไป

  41. หน่วยงานดำเนินการ หน่วยงานที่มีสถานศึกษาในสังกัด(สพฐ. , สช. , กศน. , สอศ. , สกอ. ) สถานศึกษารูปแบบพิเศษต่างๆ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

  42. งบประมาณ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ องค์กรหลัก และทุกภาคส่วนราชการ ภาคเอกชนและเครือข่าย

  43. ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะกรรมการบริหารโครงการ องค์กรหลัก และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

  44. ผลสัมฤทธิ์ ด้านผลผลิต สถานศึกษาที่จัดการศึกษาและสนับสนุนกิจกรรม โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2550 สื่อคู่มือต้นแบบในรูปแบบเอกสาร สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเลคโทรนิคส์ เครือข่ายสถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงและชุมชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

  45. ผลลัพธ์ แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้รับการเผยแพร่และขยายผลไปยังภาคการศึกษาทุกแห่งทั่วประเทศ สถานศึกษาทุกแห่งเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดการจัดการเรียนรู้ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มีการนำเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ไปบูรณาการสู่กลุ่มสาระการเรียนรู้และหลักสูตรอย่างเหมาะสม และขยายผลสู่เครือข่ายอย่างต่อเนื่อง

  46. Web Sites เศรษฐกิจพอเพียง • http://www.sedb.org/ • http://www.sufficiencyeconomy.org/ • http://www.doae.go.th/report/SE/ • http://www.porpeang.org/ • http://school.obec.go.th/bpr/ • http://www.rakbankerd.com/01_jam/thaiinfor/country_info/index.html?topic_id=3741&db_file= • http://www.sudyord.com/ecommerce/king-2002/ouddy-oud/project1.html • http://www.kradandum.com/people/people_01.htm • ศูนย์ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง นิด้า http://cse.nida.ac.th/ • http://www.moethaiteen.com

  47. ยุทธศาสตร์: เปิดศักราชใหม่การจัดการกิจการนักศึกษา • 1. ต้องปรับวิธีคิดของผู้ใหญ่เกี่ยวกับตัวเด็ก มีส่วนร่วมตัดสินใจ เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ใหม่: เด็กคือ สมาชิก ปัจจุบัน เดิม: เด็กคือคน ในอนาคต 46

  48. 1.ต้องปรับวิธีคิดของผู้ใหญ่เกี่ยวกับตัวเด็ก(ต่อ)1.ต้องปรับวิธีคิดของผู้ใหญ่เกี่ยวกับตัวเด็ก(ต่อ) • เยาวชนมีแนวคิด บริสุทธิ์สดใส • เยาวชนที่ได้ฝึกความรับผิดชอบจะมีผลงานที่ดี • หากนักศึกษาเข้าใจโลกแห่งความเป็นจริง เขาจะเตรียมพร้อมรับมือ • หากได้ฝึกช่วยเหลือผู้อื่น จะทำให้ตนเองมีคุณค่า • บูชาวีรบุรุษเป็นต้นแบบ พร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ 47

  49. 2. อุปสรรคของการดึงเยาวชนมาร่วมกิจกรรม • ผู้ปกครองไม่เข้าใจ คิดว่ากิจกรรมเสียเวลา ควรมุ่งวิชาการ • เด็กเองมีปัญหาชีวิต ครอบครัวแตกแยก วิตก กังวล • ขาดโอกาส เพราะยากจน ขาดการสื่อสารโลกภายนอก หรือป่วย • กิจกรรมไม่น่าสนใจ กระบวนการยุ่งยาก ขาดข้อมูล • ข้อจำกัดด้านเวลา งบประมาณ วิทยากร 48

  50. 3. การสร้างการมีส่วนร่วมของเด็ก • 1. บังคับ ขาดการมีส่วนร่วม • 2. กำหนดเป็นกฎระเบียบ • 3. สั่งด้วยวาจา • 4. มอบหมายโดยบอกกล่าว ระดับการมีส่วนร่วม • 5. ให้คำแนะนำโดยบอกกล่าว • 6. ผู้ใหญ่ริเริ่มโดยฟังข้อเสนอเด็ก • 7. เด็กคิดโดยมีทิศทางให้ • 8 เด็กคิด ผู้ใหญ่ให้คำแนะนำ 49

More Related