1 / 22

ลักษณะสำคัญขององค์การ

ลักษณะสำคัญขององค์การ. รองศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ ณ หนองคาย. วัตถุประสงค์. เพื่อทบทวนที่มาของ PMQA เพื่อทบทวนหลักคิด 11 ประการของ PMQA เพื่อทบทวนหลักการในการออกแบบระบบ PMQA เพื่อทบทวนหลักการในการตอบคำถามหมวด P เพื่อลงมือปฏิบัติโดย Metaphor Technique. ระบบ. CIPP Model Balanced

eddy
Download Presentation

ลักษณะสำคัญขององค์การ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ลักษณะสำคัญขององค์การลักษณะสำคัญขององค์การ รองศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ ณ หนองคาย

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อทบทวนที่มาของ PMQA • เพื่อทบทวนหลักคิด 11 ประการของ PMQA • เพื่อทบทวนหลักการในการออกแบบระบบ PMQA • เพื่อทบทวนหลักการในการตอบคำถามหมวด P • เพื่อลงมือปฏิบัติโดยMetaphor Technique

  3. ระบบ CIPP Model Balanced Context บริบท หมาเห่า OT Input ไตปลา เครื่องแกง ...SW Process กระบวนการแกงไตปลา Product Immediate Output แกงไตปลา Intermediate Output ได้กินแกงไตปลา Ultimate Output อิ่ม, อร่อย Output- Effect/Outcome Impact/ Result • Definable • Analyzable • Measurable • Repeatable • Predictable • ๕ กิจกรรม ๒๐ บาท • ๑๐ กิจกรรม ๕๐ บาท • ABC • Activity Based Costing

  4. Output+ Outcome = Result • ผลสัมฤทธิ์ = ได้กินแกงไตปลารู้สึกอิ่มและอร่อย • RBM : Result Based Management กระบวนการ แกงไตปลา อิ่ม อร่อย วัตถุดิบ แกงไตปลา ได้กิน End Justifies Mean International Organization for Standardization :IOS = ISO

  5. Input = เงินจำนวน 300,000 บาท • Process = สมองซ้าย + ขวา (OD+PMQA) • Output = หัวเราะแบบมีสาระ + DAMR(I)P(C) • คำนิยามของ PMQA • แยกองค์ประกอบของ PMQA • สามารถบอกแนวทางในการวัด PMQA • สามารถนำหลักการไปใช้ให้เกิดผล • สามารถพยากรณ์และควบคุมผลงานได้ Public Sector Management Quality Award

  6. Administration & Management • Administration = การบริหาร การมีและใช้อำนาจในการจัดสรรทรัพยากรเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์แก่องค์กร, สังคม (Equality, Equity, Ethics) • Ad(to)+ Mini(Commoner)+Strata(Class) • Ad(to)+Minister • Management = การจัดการ การทำงานให้สำเร็จ • Manual, Manipulate

  7. QC : PDSA, PDCA • TQC : Total Quality Control • TQM: Total Quality Management : การนำองค์กร การวัด การวิเคราะห์ การจัดการความรู้, การจัดการกระบวนการ • Best Practice • ลักษณะสำคัญขององค์กร, การนำองค์กร, ยุทธศาสตร์, ผู้รับบริการฯ, KM, HR,การจัดการกระบวนการ, ผลลัพธ์ • MBNQA, SQA,JQA,TQA,PMQA

  8. PA : Performance Agreement • BSC: BalancedScorecard Input Man (Learning & Growth) Money (Financial) Material Methodology Internal Process Output Outcome Customer ประสิทธิผล F :KPI 23 ตัว คุณภาพ C ประสิทธิภาพ I การพัฒนาองค์กร L

  9. การวัดเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้นการวัดเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้น การทำความเข้าใจเบื้องต้นต่อระบบการวัดตามกรอบ PMQA • Approach : มีไหม ทำไหม • Deploy : ถ่ายทอดไปสู่ผู้ปฏิบัติหรือผู้เกี่ยวข้องไหม • Learning : นำไปสู่การปฏิบัติจริงไหม • Integration : บรรลุผลและมีแนวโน้มต่อเนื่องไหม • ในทางปฏิบัติ ADLI จะมีคำนิยามและกรอบเป็นการเฉพาะ

  10. P. ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะองค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ

  11. การฝึกปฏิบัติหมวด P • อ่านคำถาม และ ตีความให้เข้าใจ • ถ้าเข้าใจแตกต่างกันให้สมาชิกพยายามทำความเข้าใจเพื่อหาข้อสรุป หากสรุปไม่ได้ให้กลุ่มตอบคำถามตามที่เข้าใจที่แตกต่างกันไปก่อน • ตอบให้ครบทุกคำถาม หากไม่มีข้อมูลสนับสนุนคำตอบให้สมมติข้อเท็จจริงเพื่อตอบ และ อธิบายว่าหากดำเนิน การจริงจะไปหาข้อมูลจากที่ใด และ คาดการณ์ว่าในทางปฏิบัติจะมีข้อมูลให้หรือไม่ • หลังพักช่วงบ่ายนำคำตอบมาเสนอต่อที่ประชุมเวลา ๑๔.๔๕ น

  12. การตอบคำถามหมวด P (๑) • พระราชบัญญัติ/กฎกระทรวง/คำสั่ง....กำหนดให้ ส่วนราชการมีหน้าที่ ก ข ค ง • งานที่เกิดจากการปฏิบัติพันธกิจ คือ งาน ก. งาน ข. งาน ค. งาน ง. • ผู้ใช้งาน ก. คือ A, งาน ข. คือ B, งาน ค. คือ C, งาน ง.คือ D • งานที่มอบให้ A, B ต้องมีลักษณะ X แนวทางการดำเนินงานจึงใช้ X โดยส่งมอบแบบ.... • งานที่มอบให้ C, D ต้องมีลักษณะ Y แนวทางการดำเนินงานจึงใช้ Y โดยส่งมอบแบบ...

  13. การตอบคำถามหมวด P (๒) • วิสัยทัศน์ “ และ “เป้าประสงค์” ตอบตามแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน” • วัฒนธรรมองค์กรคือ “ เป็นแบบแผนการดำเนินงาน หรือ วิถีชีวิตองค์การที่กระทำสืบต่อกันมาโดยจะมีการประกาศไว้หรือไม่ก็ตาม” • ค่านิยมองค์การ “ เป็นสิ่งที่ประกาศไว้ว่าให้ใช้หรือยึดถือเป็นแนวทาง คือ เป็นสิ่งที่องค์การนิยมให้ยึดถือในการทำงาน เช่น ตรงต่อเวลา ไม่มีขั้นตอนเกินความจำเป็น”

  14. การตอบคำถามหมวด P (๓ – ๕) • ตอบโดยยึดพันธกิจเป็นฐาน เช่น คนที่ปฏิบัติงานประกอบด้วยตำแหน่งใดบ้าง แต่ละตำแหน่งมีกี่คน วุฒิการศึกษา อายุ เป็นอย่างไร ข้อมูลรวบรวมมาจากงานการเจ้าหน้าที่ หรืองานบุคคล และ พันธกิจเหล่านั้นต้องมีข้อกำหนดพิเศษอย่างไรในการทำงาน • ตอบโดยยึดพันธกิจเป็นฐาน เช่น พันธกิจ ก. ใช้อุปกรณ์สำคัญคือ...ข.ใช้อุปกรณ์ที่สำคัญคือ.... • ตอบโดยยึดพันธกิจเป็นฐาน เช่น พันธกิจ ก. มีกฎหมาย/ระเบียบ/ข้อบังคับสำคัญในการปฏิบัติตามพันธกิจคือ....

  15. การตอบคำถามหมวด P (๖ – ๘) • การกำกับดูแลตนเองที่ดีคือการประกาศกำหนดนโยบายกำกับดูแลตนเองที่ดี เช่น มีการประกาศและให้ลงลายมือชื่อรับรองโดยบุคลากรในองค์การอย่างทั่วถึง มีการจัดทำมาตรฐานการควบคุมภายใน • นำหลัก SIPOC มาวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งประกอบด้วย Supplier, Partner, Customer รับรู้หรือสื่อสารความต้องการของคนเหล่านี้ได้อย่างไรบ้าง

  16. การตอบคำถามหมวด P (๙-๑๒) • ประเด็นการแข่งขัน คือ ประเด็นที่องค์กรอื่นทำได้ดีกว่าและเราต้องการใช้องค์กรนั้นเป็นตัวเปรียบเทียบ • ประเด็นเปรียบเทียบ คือ ประเด็นสำคัญ ด้านประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ และ การพัฒนาองค์กร • ข้อจำกัดของข้อมูลที่นำมาใช้เปรียบเทียบ

  17. การตอบคำถามหมวด P (๑๓-๑๕) • ท้าทายตามพันธกิจ เช่น การลดการตายด้วยอุบัติเหตุ • ท้าทายด้านปฏิบัติการ เช่น การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ • ท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล เช่น การพัฒนาความหลากลายความสามารถหรือการสั่งสมความเชี่ยวชาญงานอาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิผล การสร้างความพึงพอใจในงาน • การปรับปรุงการทำงานโดยใช้ระบบคุณภาพใดให้ระบุ • มีการนำความสำเร็จ ความล้มเหลวมาแลกเปลี่ยนกันหรือไม่

  18. หลักคิด : 11 Core Values 1 5 การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นอนาคต 9 การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง 2 6 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ความคล่องตัว 10 การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 3 7 การให้ความสำคัญกับ พนักงานและคู่ค้า การเรียนรู้ขององค์การ และแต่ละบุคคล 4 8 11 ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นที่ลูกค้า การจัดการเพื่อ นวัตกรรม มุมมองเชิงระบบ

  19. ผังก้างปลากลยุทธ์ ปัจจัยภายใน (PMQA 6 หมวด) 1. สาเหตุ 2. สาเหตุ 5. สาเหตุ ปัญหา 3. สาเหตุ 4. สาเหตุ 6. สาเหตุ ปัจจัยภายนอก

  20. ระดับชั้นของเกณฑ์ P. ลักษณะสำคัญขององค์กร 2 ข้อ 1. การนำองค์กร 7 หมวด 17 หัวข้อ 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 32 ประเด็น ที่ควรพิจารณา ก. การกำหนดทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การควบคุมดูแลให้มีการจัดการภายในที่ดี ค. การทบทวนผล การดำเนินการขององค์กร 90 คำถาม (1) (2)

  21. การกำกับดูแลตนเองที่ดี(P6)การกำกับดูแลตนเองที่ดี(P6) วัฒนธรรมและค่านิยม(P2) ข้อกำหนดพิเศษในการทำงาน(P3) กฎหมายหรือระเบียบสำคัญ(P5) ข้อกำหนดในการปฏิบัติงานกับองค์กรภายนอก(P7) วิธีการสื่อสารกับองค์กรภายนอก(P7) กระบวนการตามกฎหมาย(P1) นำความต้องการของผู้รับบริการมาออกแบบการ ทำงาน(P1) ประเด็นความท้าทาย (P13) ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ประสบผลสำเร็จ (P10) การปรับปรุงประสิทธิภาพ(P14) KM(P15) ปัจจัยนำเข้า(P3,P4) บุคลากร เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก หน่วยงานภายนอกที่ เกี่ยวข้อง/ทำงานร่วมกัน (P7) (P8) คู่แข่งและประเด็นแข่งขัน (P9) ความคาดหวังผู้รับบริการที่สำคัญและวิธีสื่อสาร(P8)

More Related