300 likes | 421 Views
การสื่อสารและหลักปฏิบัติ. หัวข้อการบรรยาย. 1 วิธีการสื่อสารและหลักปฏิบัติ ระบบการสื่อสาร วิธีการติดต่อสื่อสารทางวิทยุคมนาคม การใช้และบำรุงรักษาเครื่องวิทยุคมนาคม 2 การใช้เครื่องวิทยุคมนาคมเพื่อการติดต่อสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ ข้อห้าม สำหรับการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
E N D
หัวข้อการบรรยาย 1 วิธีการสื่อสารและหลักปฏิบัติ • ระบบการสื่อสาร • วิธีการติดต่อสื่อสารทางวิทยุคมนาคม • การใช้และบำรุงรักษาเครื่องวิทยุคมนาคม 2 การใช้เครื่องวิทยุคมนาคมเพื่อการติดต่อสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ • ข้อห้าม สำหรับการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม • เปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างเครื่องวิทยุคมนาคมในกิจการเคลื่อนที่ทางบกสำหรับหน่วยงานของรัฐ และเครื่องวิทยุคมนาคมในกิจการวิทยุสมัครเล่น
ระบบการสื่อสาร • ผู้ส่งสาร • ผู้รับสาร • ข่าวสาร • ช่องทางการสื่อสาร
ความสำคัญของการสื่อสารความสำคัญของการสื่อสาร • ถูกต้อง เชื่อถือได้ • ปลอดภัย • รวดเร็ว
ส่วนต่าง ๆ ของระบบวิทยุสื่อสาร • เครื่องรับวิทยุ ( Receiver , Radio -receiver) Rx. ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นวิทยุ (คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า) ที่ได้รับเข้ามา แล้วเปลี่ยนเป็นคลื่นเสียง ออกทางลำโพง หรือ หูฟัง • เครื่องส่งวิทยุ ( Transmitter , Radio - transmitter) Tx. ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียง (เสียงที่พูด ผ่านไมโครโฟน) แล้วเปลี่ยนเป็นคลื่นวิทยุ (คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า)
เครื่อง รับ – ส่ง วิทยุ (Transceiver / Radio - transceiver) Tx/Rx ทำหน้าที่เป็นเครื่องรับวิทยุ และ เครื่องส่งวิทยุในตัวเดียวกัน
ประเภทของเครื่องวิทยุ • ชนิดประจำที่ Base Station ติดตั้งสำหรับ ใช้ประจำที่ เช่น สำนักงาน กำลังส่งมากว่า 25 วัตต์ Mobile Station ติดตั้งสำหรับยานพาหนะกำลังส่งประมาณ 25 วัตต์ • ชนิดพกพา เคลื่อนที่ Handy Talky ใช้สำหรับ พกพา ติดตัว กำลังส่ง ประมาณ 5 วัตต์
คุณสมบัติพิเศษ ของเครื่องรับ-ส่ง วิทยุ • ชนิดธรรมดา • ชนิดกันน้ำได้ (Waterproof) • ชนิดกันฝนได้(Rainproof) • ชนิดกันระเบิด (Extingcaly Safe) ชนิดมีระบบ DSC ในตัว ชนิด ติดตั้ง ระบบ GPS ในตัว
ส่วนประกอบของเครื่องวิทยุส่วนประกอบของเครื่องวิทยุ • สายอากาศ (Antenna )(Aerial) กรณีในเครื่องส่ง ทำหน้าที่แพร่กระจายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ออกไปในอากาศ กรณีในเครื่องรับ ทำหน้าที่รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ชนิด บังคับทิศ ชนิด ไม่บังคับทิศ
สายส่ง (Transmission Line) ทำหน้าที่นำสัญญาณไฟฟ้า ไปออกอากาศที่สายอากาศ และทำหน้าที่ รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากสายอากาศ มายังเครื่องรับ ส่ง วิทยุ แบตเตอรี่ (Battery) ทำหน้าที่จ่ายพลังงานไฟ DCให้กับเครื่อง รับ - ส่ง วิทยุ แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply)แปลงไฟจาก AC เป็น DC ทำหน้าที่จ่ายพลังงานไฟ DC ให้กับ เครื่องรับ – ส่ง วิทยุ
คลื่นวิทยุ ความถี่วิทยุ กำลังส่งวิทยุ คลื่นเสียง (Sound wave ) :คลื่นที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ (คนเราได้ยิน 20 – 20,000 Hz.) คลื่นวิทยุ ( Radio wave) : คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Elctro Magnetic )ที่เดินทางได้โดยมีอากาศ เป็นตัวนำ
ความถี่วิทยุ จำนวนคลื่นวิทยุในเวลา 1 วินาที • ความยาวคลื่นวิทยุ ระยะทางที่คลื่นวิทยุเคลื่อนที่ไปใน 1 รอบ • ความเร็วคลื่นวิทยุ ระยะทางที่คลื่นวิทยุเคลื่อนที่ไปใน 1 วินาที
ประเภท ของการ รับ -ส่ง ความถี่ทางวิทยุ แบบ Simplex ใช้ความถี่เดียวกัน /รับและส่งพร้อมกันไม่ได้ แบบ Semi – Duplexใช้ 2 ความถี่ / รับ และส่ง คนละความถี่ แบบ Duplex (Full Duplex) ใช้ 2 ความถี่ / รับและส่งพร้อมกันได้
ข้อควรสังเกตุ • ความถี่สูง ส่งได้ใกล้ ความถี่ต่ำ ส่งใด้ไกล • ความยาวคลื่นสั้น (น้อย) สายอากาศจะสั้น ความยาวคลื่นยาว (มาก) สายอากาศจะยาว • ความถี่สูง สายอากาศจะสั้น ความถี่ต่ำ สายอากาศจะยาว
หลักการติดตั้งเครื่องวิทยุ ชนิดประจำที่ การวางแผนตั้งสถานี ต้องดูพื้นที่ เป้าหมายที่ต้องการจะติดต่อสื่อสาร ต้องมีการสำรวจ ก่อนการสร้างจริง มีปัจจัยที่ควรจะต้องคำนึงถึง • ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม ภูมิทัศน์ • ความปลอดถัย ต่อคน และสถานที่ • สัญญาณรบกวนทางด้านไฟฟ้า • การเข้าถึงสถานี • ระยะห่างจากท่าอากาศยาน หรือสนามบิน ต้องขออนุญาติกรมขนส่ง ฯ • ความคุ้มค่าในด้านเศรษฐศาสตร์ • ความแข็งแรง • ใช้ร่วมกับของที่มีอยู่แล้วได้
ใบอนุญาต 9 ประเภท ทำ มี ใช้ นำเข้า นำออก ค้า/ซ่อมตั้งสถานี พนักงาน รับข่าวต่างประเทศเพื่อการโฆษณา
การตรวจซ่อมและบำรุงรักษาเบื้องต้น มี 2 ลักษณะ คือ ป้องกัน กับ แก้ไข ป้องกัน ได้แก่ ห้ามทำตกหล่น กระแทก โดนน้ำ ชื้น ขั่วต่อต้องแน่น สายอากาศ ต้อง matching /mismatch ตรวจ VSWRแรงดันไฟต้องตรงตามคู่มือ การติดต่อสั้น ๆ ปรับกำลังส่งให้เหมาะสม ปฏิบัติตามคู่มือ ห้ามใช้ตอนฝนฟ้าคะนอง ปรับแต่งสลิงรั้งสายเสาอากาศ ให้ตึงเสมอ ตรวจสาย transmission ในเรือหรือยานพาหนะ ที่มีเครื่องต้องติด EMI
การแก้ไข • เครื่องไม่ทำงาน ขั่วต่อแบตเตอรี่ switch on /offฟิวซ์ • เครื่องทำงาน แต่รับไม่ได้ ส่งไม่ได้ รับได้บ้าง ไม่ได้บ้าง ส่งได้ใกล้ รับได้ใกล้
การใช้เครื่องวิทยุสื่อสารนั้น ต้องคำนึงถึง 1 ความถี่ที่ต้องการใช้ ต้องได้รับอย่างถูกต้อง และมีสิทธิใช้ 2 ตัวเครื่อง ถูกต้องตามกฏหมาย 3 วิธีการปฏิบัติ ตาม กฏหมาย และระเบียบที่ กสทช.กำหนด
วิธีการติดต่อสื่อสารทางวิทยุคมนาคมวิธีการติดต่อสื่อสารทางวิทยุคมนาคม ผู้ส่งข่าว ผู้รับข่าว เครื่องมือสื่อสารทางวิทยุคมนาคม ความเร็วในการ รับ – ส่ง ข่าว
ระบบนามเรียกขาน และข่ายการสื่อสารcall sign / communication net
นามเรียกขาน call sign ที่ใช้อ้างถึงตัวผู้พูดในการติดต่อสื่อสารทางวิทยุ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1 นามเรียกขานรวม ( Callecttive Call Sign) รหัสที่ใช้เพื่ออ้างถึงการเรียกรวม เป็นกลุ่ม เพื่อแสดงว่าเป็นการเรียกทุกสถานีในข่ายนั้น ๆ 2 นามเรียกขานเดี่ยว (Selective Call Sign) รหัสที่ใช้อ้างถึงตัวผู้พูดในการสื่อสารทางวิทยุเฉพาะตน (ทั้งตนเอง คู่สนทนา และ ผู้ที่อ้างถึง )
ในระดับสากล จะมีการระบุนามเรียกขาน ไม่ซ้ำกัน โดยจะใช้ตัวอักษรผสมตัวเลข เพื่อแสดงลักษณะเฉพาะของแต่ละสถานีโดยไม่ซ้ำกันเลยทั่วโลก ตัวอย่าง นามเรียกขาน HSHE HS หมายถึง ประเทศไทย HE หมายถึง เรือชลธารานุรักษ์ ในระดับใช้งานท้องถิ่น ส่วนใหญ่ ใช้ ชื่อหน่วยงาน ชื่อย่อ ตำบลที่ ลักณะภูมิศาสตร์ หรืออื่น ๆ ที่ตกลงใช้กันภายในหน่วยงานนั้น ๆ
ข่ายการสื่อสาร (Communication Net) การติดต่อสื่อสารทางวิทยุเฉพาะกลุ่ม ในย่านความถี่เดียวกัน ที่มีจุดมุ่งหมาย ทิศทางเดียวกัน วัตถุประสงค์เดียวกัน สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1 ข่ายอิสระ(Free Net)ทุกสถานีในข่ายสามารถติดต่อกันได้โดยอิสระ 2 ข่ายควบคุม (Control Net)ทุกสถานีในข่าย (ลูกข่าย) จะติดต่อสื่อสารกันได้จะต้องขออนุญาตสถานี ควบคุมข่าย (สถานแม่ข่าย) (Master Control Station)ก่อน
สถานีเรียก คือ สถานีที่ต้องการจะส่งข่าว • สถาที่ถูกเรียก คือ สถานีที่สถานีเรียกต้องการจะส่งข่าวให้ • การเรียก ก่อนเรียกต้องฟังว่าวงจรสื่อสารว่างอยู่ • การตอบการเรียก ตอบทันทีที่ได้ยินการเรียกและทราบได้ว่าเรียกสถานีเรา • การส่งข่าว ส่งทั้งฉบับ ส่งทีละประโยค
ชั้นความลับของข่าว ธรรมดา ปกปิด ลับ ลับมาก ลับที่สุด ลำดับความเร่งด่วนของข่าว ธรรมดา ด่วนด่วนมาก ด่วนที่สุด ข้อควรสังเกตุ ข่าวแจ้งภัย ข่าวด่วน ข่าวเพื่อความปลอดภัย
การใช้เครื่องวิทยุคมนาคมเพื่อการติดต่อสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ - เปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างเครื่องวิทยุคมนาคมในกิจการเคลื่อนที่ทางบกสำหรับหน่วยงานของรัฐ และเครื่องวิทยุคมนาคมในกิจการวิทยุสมัครเล่น (เอกสาร ตามภาค ผนวก )
การสื่อสารทางวิทยุเป็นการสื่อสารที่มีความปลอดภัยน้อยที่สุดการสื่อสารทางวิทยุเป็นการสื่อสารที่มีความปลอดภัยน้อยที่สุด ใช้วิทยุไม่ระวังความปลอดภัยก็ลดลง • ข้อควรปฏิบัติ - การส่งข่าว ต้องสั้น กะทัดรัด เท่าที่จะกระทำได้ - การยึดถือระเบียบปฏิบัติ การละเลย การพูดเล่น ย่อมก่อให้เกิดความสับสนได้ ในกรณีที่ไม่มีระเบียบ ใด ๆ ระบุไว้ ก็ให้ใช้สามัญสำนึกในการปฏิบัติ - การสนทนาเฉพาะเรื่องราชการ และจำเป็น - ปรับความถี่และทดลองเครื่องอย่างเหมาะสม - ฟัง ก่อน ส่ง - ชัดเจน ความเร็วเหมาะสม
ข้อห้าม ห้ามฝ่าฝืนการใช้วิทยุ ห้ามพูดเล่น คำหยาบ ไม่สุภาพ เรื่องส่วนตัว ห้ามส่งข้อความผิดกฏหมาย ห้ามผิวปาก ร้องเพลง ห้ามส่งสัญญาณ ขอความช่วยเหลือ หากไม่เกิดเหตุฉุกเฉิน ห้ามโฆษณา สิ้นค้า ห้ามฝักใฝ่ทางการเมือง (ต้องเป็นกลางทางการเมือง) ฯลฯ