1 / 87

เสถียร คามีศักดิ์ บุคลากรผู้เชี่ยวชาญ

การทำงานเชิงวิเคราะห์. เสถียร คามีศักดิ์ บุคลากรผู้เชี่ยวชาญ. นิยาม ก.พ.อ. งานเชิงวิเคราะห์.

echo-jensen
Download Presentation

เสถียร คามีศักดิ์ บุคลากรผู้เชี่ยวชาญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทำงานเชิงวิเคราะห์การทำงานเชิงวิเคราะห์ เสถียร คามีศักดิ์ บุคลากรผู้เชี่ยวชาญ

  2. นิยาม ก.พ.อ. งานเชิงวิเคราะห์ ผลงานที่แสดงการแยกแยะองค์ประกอบต่างของเรื่องอย่างมีระบบ มีการศึกษาในแต่ละองค์ประกอบและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่องานของหน่วยงานหรือสถาบันอุดมศึกษา

  3. การวิเคราะห์ การจำแนก แยกแยะองค์ประกอบของสิ่งหนึ่งออกเป็นส่วน ๆเพื่อค้นหาว่ามาจากอะไร เชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างไร เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้น

  4. การวิเคราะห์ การแยกแยะหาต้นตอของสาเหตุ หาตัวแปรที่สำคัญ การใช้เครื่องมือทางสถิติ ใช้เครื่องมืออุปกรณ์มาทำการวิเคราะห์ หรือคิดแบบวิเคราะห์(ผังก้างปลา ผังรากไม้ กราฟ ฯลฯ) การสังเคราะห์ คือการรวม การสรุป คิดรวบยอด

  5. การวิเคราะห์ การหาแนวโน้มและต้นตอของสาเหตุให้พบ ไม่ใช่เป็นการอธิบายกราฟว่าขึ้นลงอย่างไร หากเก็บข้อมูลผิด-ข้อมูลไร้สาระ ก็ทำให้ผลการวิเคราะห์ผิด ควรใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ ผังก้างปลาฯลฯ **อย่าเก็บข้อมูลนานเกินไป –ล่าสมัย **ถามผู้รู้**อ่านตำรา**

  6. การวิเคราะห์ *การจำแนกแยกแยะ ออกมาใคร่ครวญ หาเหตุปัจจัยของสิ่งของหรือเรื่องราวต่าง ๆ สรุปการค้นหาความจริง ในทุกแง่ทุกมุมของสิ่งใดสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือหลายอย่างว่า ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำไม และอย่างไร “5W1H”WHAT WHO WHERE WHEN WHY WHICH HOW

  7. งานวิเคราะห์/ส่วนหนึ่งงานวิจัยเชิงสำรวจงานวิเคราะห์/ส่วนหนึ่งงานวิจัยเชิงสำรวจ

  8. การวิจัยเชิงสำรวจ • เป็นการศึกษาเพื่อหาความรู้ความจริงในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยใช้วิธีสำรวจและอธิบายข้อเท็จจริงต่าง ๆ ว่ามีลักษณะอย่างไร เป็นลักษณะกว้าง ๆ ทำให้ทราบข้อเท็จจริงเป็นแนวทางในการวางแผน การปรับปรุงแก้ไข สิ่งต่าง ๆ ให้ดีขึ้นแบ่งออกเป็น 5 ประเภท

  9. วิจัยเชิงสำรวจ 5 ประเภท

  10. □การวิเคราะห์งาน Job Analysis ขจัดความสูญเสียในการปฏิบัติงาน หาวิธีที่ดีที่สุดในการปฏิบัติงาน ปรับปรุงงาน

  11. การวิเคราะห์เอกสาร Documentary Analysis เอกสาร หมายถึงหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข แบบฟอร์ม พระราชกฤษฎีกา พระราชบัญญัติ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หนังสือเวียน มติที่ประชุม คำสั่ง ระบบไอที

  12. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมือที่ดี 2546 ผู้ปฏิบัติงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ที่เป็นผู้ใช้ หรือเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ มติ หนังสือเวียน ต้องมีหน้าที่ สำรวจ ตรวจสอบ และทบทวน เพื่อดำเนินการปรับปรุง หรือจัดประกาศขึ้นใหม่ ให้ทันสมัยและเหมาะสมกับสภาวการณ์ หรือ สอดคล้องกับความจำเป็นในปัจจุบัน โดยคำนึง ถึงความสะดวกรวดเร็ว และลดภาระของผู้รับบริการ(ลูกค้า) เป็นสำคัญ

  13. การวิเคราะห์งานหรือวิเคราะห์เอกสารการวิเคราะห์งานหรือวิเคราะห์เอกสาร • เลือกงานที่มีปัญหาหรืองานที่ไม่สำเร็จตามตัวชี้วัดหรืองานที่จะพัฒนา ตั้งเป็นชื่อเรื่อง • ทำโครงร่าง จัดทำสารบัญ ในการดำเนินการ แบ่งออกเป็น 5 บทลักษณะเดียวกับทำงานวิจัย

  14. สารบัญงานวิเคราะห์ 5 บท *บทที่ 1 บทนำ *บทที่ 2 เอกสารงานที่เกี่ยวข้อง *บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิเคราะห์ *บทที 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล *บทที่ 5 สรุปผลการวิเคราะห์ วิพากษ์ และข้อเสนอแนะ *บรรณานุกรม *ภาคผนวก

  15. ส่วนประกอบของรูปเล่มงานเชิงวิเคราะห์ส่วนประกอบของรูปเล่มงานเชิงวิเคราะห์ • ส่วนประกอบตอนต้น • 1.1ปกนอก • 1.2 ปกใน • 1.3คำนิยม • 1.4 คำนำ • 1.5สารบัญ • 1.6บัญชีตาราง • 1.7บัญชีภาพประกอบ

  16. ส่วนประกอบของรูปเล่มงานเชิงวิเคราะห์ส่วนประกอบของรูปเล่มงานเชิงวิเคราะห์ 2. ส่วนประกอบเนื้อหา เป็นส่วนที่จัดทำสารบัญ ที่แบ่งออกเป็นบท ๆ 3. ส่วนประกอบตอนท้าย 3.1บรรณานุกรม 3.2ภาคผนวก 3.3ประวัติย่อผู้เขียน

  17. การเลือกเรื่องทำงานเชิงสังเคราะห์การเลือกเรื่องทำงานเชิงสังเคราะห์ หลักเกณฑ์การเลือกเรื่อง 1.งานประจำที่ปฏิบัติ 2.ความสนใจและมีความเชี่ยวชาญ 3.เรื่องที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ 4.มีแหล่งข้อมูลให้ค้นคว้า

  18. การเลือกเรื่องทำงานเชิงสังเคราะห์การเลือกเรื่องทำงานเชิงสังเคราะห์ หลักเกณฑ์การเลือกเรื่อง 5.ขอบเขตของเรื่อง 6.ไม่สิ้นเปลืองเวลาและค่าใช้จ่ายเกินไป 7.เสี่ยงต่ออันตราย **รายงานประจำปี รายงานการประชุมข้อร้องเรียน การประชุมสัมมนา การะดมสมอง ผลตรวจประกันคุณภาพ

  19. บทที่ 1 บทนำ • ภูมิหลัง/ความสำคัญเรื่อที่จะวิเคราะห์ • วัตถุประสงค์เรื่องที่จะวิเคราะห์ • ประโยชน์ของเรื่องที่จะวิเคราะห์ • ของเขตของเรื่องที่จะวิเคราะห์ • นิยามศัพท์เฉพาะ • สมมติฐานการวิเคราะห์

  20. ภูมิหลัง/ความสำคัญ *หา Keyword ของหัวเรื่องที่เลือกดึงเอาคำนั้นมาอธิบายถึงความสำคัญว่าเป็นอย่างไร ทำไมจึงสนใจจะวิเคราะห์ มีหลักฐานอะไร *ทำแล้วได้อะไร อยากรู้คำตอบอะไร

  21. ข้อสังเกต 1. ชื่อเรื่องเป็นงานประจำที่ปฏิบัติ ข้อมูลก็มีอยู่แล้ว ขอบเขตไม่กว้าง ไม่แคบ ไม่สิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้จ่ายมากนัก 2. Keyword ของเรื่องคือ พนักงานมหาวิทยาลัยระบบสัญญาจ้าง อธิบายความเป็นมา ทำไมต้องจ้าง จ้างใคร ที่ไหน ทำไม *ก.พ. คปร. ครม. งปม. กรมบัญชีกลาง สกอ มหาวิทยาลัย การปรับเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับเป็นเหตุสำคัญ

  22. ข้อสังเกต 3.ทำแล้วได้อะไร ทำให้มีความรู้ความเข้าใจระบบการบริหารบุคลระบบสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ 4. อยากรู้เรื่องอะไร ระบบการบริหารงานบุคคลด้วยระบบสัญญาจ้างพนักงานของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ใน 17 ประเด็น 5. มีหลักฐานสนับสนุนอ้างอิงได้ทุกขั้นตอนที่นำเสนอ

  23. วัตถุประสงค์เรื่องที่จะวิเคราะห์วัตถุประสงค์เรื่องที่จะวิเคราะห์ 1. ประเด็นที่เราอยากรู้หรือสงสัยในท้ายทบที่ 1 ต้องสัมพันธ์กันกับวัตถุประสงค์ 2.การเขียนวัตถุประสงค์ ต้องอธิบายได้ วัดได้ เป็นรูปธรรม *เพื่อศึกษากระบวนการบริหารงานบุคคลระบบสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยของรัฐในประเด็นสำคัญ 17 ประเด็น *เพื่อเปรียบเทียบลักษณะการวิเคราะห์จำแนกแจกแจงความเหมือและความแตกต่างของกระบวนการบริหารบุคลฯ

  24. ประโยชน์ของเรื่องที่จะวิเคราะห์ประโยชน์ของเรื่องที่จะวิเคราะห์ * เขียนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ หลักการ วัตถุประสงค์ทำไปทำไม ก็ได้รับอย่างนั้น *ได้มีความรู้ความเข้าใจในระบบการบริหารงานบุคคลระบบสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยของรัฐใน 17 ประเด็น *ไดทราบถึงความเหมือและความแตกต่างของกระบวนการบริหารบุคลฯ ใน 17 ประเด็น

  25. ข้อสังเกต *เพื่อศึกษากระบวนการบริหารงานบุคคลระบบสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยของรัฐในประเด็นสำคัญ 17 ประเด็น **ประโยชน์ คือ ความรู้ความเข้าใจ *เพื่อเปรียบเทียบลักษณะการวิเคราะห์จำแนกแจกแจงความเหมือและความแตกต่างของกระบวนการบริหารบุคลฯ **ทราบถึงความเหมือน/ความต่าง

  26. ขอบเขตของเรื่องที่จะวิเคราะห์ขอบเขตของเรื่องที่จะวิเคราะห์ 1.จำกัดโดยระยะเวลา เช่นกำหนดปีการศึกษาฯ *ศึกษาเอกสาร ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หนังสือเวียน มติต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 20 แห่ง ที่นำเสนอในการจัดประชุมผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐทั่วประเทศ ณ วันที่ 29 มกราคม 2547 ยกเว้นมหาวิทยาลัยรามคำแหง

  27. ขอบเขตของเรื่องที่จะวิเคราะห์ขอบเขตของเรื่องที่จะวิเคราะห์ 2.จำกัดโดยสถานที่ ระบุสถานที่ในการวิเคราะห์ลงไปให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น พนักงานมหาวิทยาลัยของรัฐ หรือ การบริหาร 10 ส่วนงานในกำกับสังกัดมหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ตามระเบียบการบริหารส่วนงานในกำกับของมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2543

  28. ขอบเขตของเรื่องที่จะวิเคราะห์ขอบเขตของเรื่องที่จะวิเคราะห์ 3.จำกัดขอบเขตโดยเนื้อหา เป็นการจำกัดขอบเขตให้แคบลง เช่นการเปรียบเทียบการบริหารบุคคลระบบสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย/สถาบันของรัฐ จำกัดขอบเขตให้แคบลง การเปรียบเทียบการจัดสวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูลพนักงานมหาวิทยาลัย/สถาบันของรัฐ

  29. นิยามศัพท์เฉพาะ *เป็นคำเฉพาะใช้ในเรื่องนี้เท่านั้น มีความหมายเช่นนี้ *เป็นข้อตกลงเบื้อต้นกับผู้อ่านก่อน เพื่อป้องกันเอาไปอ้างอิงผิดพลาด *ทำให้ไม่ต้องเขียนยืดยาวในเอกสารครั้งต่อ ๆ ไป

  30. สมมติฐานการวิเคราะห์ โดยหลักการทั่ว ๆ จะไม่มีการตั้งสมมติฐานการวิเคราะห์

  31. การรวบรวมเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะวิเคราะห์การรวบรวมเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะวิเคราะห์ ส่วนที่ต้องศึกษาแนวคิด ทฤษฎี กฎ ระเบียบ ประกาศ หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง นำมาอธิบายในลักษณะ ผสมผสานให้เป็นเนื้อเดียวกัน มีความสัมพันธ์กัน เรียงตามลำดับความสำคัญ หรือเวลา ควรสรุปในแต่ละเรื่องเป็นแนวคิดของผู้วิเคราะห์

  32. การอ้างอิง • การอ้างอิงหน้าข้อความ • การอ้างอิงระหว่างข้อความ • การอ้างอิงหลังข้อความ • ควรอ้างอิงแหล่งปฐมภูมิ • เสถียร คามีศักดิ์ (2549:14-16)ต้น • (เสถียร คามีศักดิ์. 2549 : 24)ระหว่าง/ท้าย • “พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนใสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547” ราชกิจจานุเบกษาเล่ม 121 ตอน...

  33. วิธีการดำเนินการศึกษาวิเคราะห์วิธีการดำเนินการศึกษาวิเคราะห์ • นำวัตถุประสงค์มากล่าวอ้างอีกครั้ง ร้อยเรียงกันให้เป็นประโยค หรือข้อความย้ำให้ผู้อ่านทราบ โดยเกริ่นนำ เช่น “การวิเคราะห์ครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างในแนวกว้างของกระบวนการบริหารงานบุคคลระบบสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยของรัฐ ซึ่งได้กำหนดวิธีการศึกษาเปรียบเทียบไว้ดังต่อไปนี้”

  34. สิ่งที่ควรนำเสนอในบทนี้สิ่งที่ควรนำเสนอในบทนี้ • มีใครเกี่ยวข้องบ้าง จะวิเคราะห์ประเด็นอะไร • (ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง/ผลงานย้อนหลัง/ขั้นตอนการทำงาน/เอกสารที่ใช้อ้างอิงในการปฏิบัติงาน) • การแยกองค์ประกอบต่าง ๆ อย่างมีระบบ • ใช้เครื่องมือ เกณฑ์ในการวิเคราะห์(กฎหมาย/เกณฑ์มาตรฐาน/หลักการทำงานที่มีคุณภาพ/ใช้ค่าสถิติ/เกณฑ์ของเบสต์) • จะมีขั้นตอนในการสร้างเครื่องมืออย่างไร เพื่อให้มีความเชื่อมั่น ใช้เทคนิคเดลฟาย

  35. สิ่งที่ควรนพเสนอ • จะเก็บข้อมูลอย่างไร ต้องเขียนอธิบายให้เชื่อถือได้ • จะดำเนินการวิเคราะห์อย่างไร เมื่อได้ข้อมูลแล้วจะทำอย่างไรกับข้อมูล

  36. ใครเกี่ยวข้องหรือเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไรบ้างใครเกี่ยวข้องหรือเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไรบ้าง • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ถ้านำประชากรมาทั้งหมดจะมากเกินไป เสียเวลา/ค่าใช้จ่ายสูง จึงต้องนำตัวแทนของกลุ่มประชากร คือกลุ่มตัวอย่าง ใช้ Krejcie

  37. ใครเกี่ยวข้องหรือเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไรบ้างใครเกี่ยวข้องหรือเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไรบ้าง • วิเคราะห์งาน -ไม่สำเร็จ ตามตัวชี้วัด ต้องนำภาระงานของปีที่ผ่านมาวิเคราะห์ โดยหลักการจะนำผลการปฏิบัติงานย้อนหลัง 3-5 ปีมาสร้างตารางนำเสนอ ว่าเป็นอย่างไร • โดยใช้ชื่อตารางว่า “แสดงการบันทึกผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัด ของงาน...........” • ภาระงาน-ปริมาณ-คุณภาพ(ถูกต้อง-ทันเวลา) • หมายเหตุ บอกจำนวน และเหตุไม่เป็นไปตามตัวชี้วัด

  38. ใครเกี่ยวข้องหรือเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไรบ้างใครเกี่ยวข้องหรือเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไรบ้าง • ต้องเสนอขั้นตอนในการปฏิบัติงาน พร้อมระยะเวลาที่กำหนด เพื่อแยกแยะองค์ประกอบ หาสาเหตุ ว่าผลงานสำเร็จตามตัวชี้วัด หรือไม่สำเร็จตามตัวชี้วัด เพราะอะไร

  39. การแยกแยะองค์ประกอบอย่างมีระบบการแยกแยะองค์ประกอบอย่างมีระบบ • BRAIM STORMING-ระดมสมอง • กลุ่มที่สนใจ Focus Group 6-12 ภายใต้การเลือกเฉพาะเจาะจง Purposive Sampling

  40. การแยกแยะองค์ประกอบอย่างมีระบบการแยกแยะองค์ประกอบอย่างมีระบบ 2. Delphi Technique ผู้เชี่ยวชาญ ไม่ควรเกิน 10 คน แดสงความคิดเห็นอย่างอิสระ กลั่นกรองความคิดอย่างรอบครอบ ปราศจากการชี้นำ อาจจะต้องสร้างเป็นแบบสอบถามปลายเปิด-ประมาณค่า

  41. การแยกแยะองค์ประกอบอย่างมีระบบการแยกแยะองค์ประกอบอย่างมีระบบ 3. ใช้เทคนิค SWOT ใช้เทคนิคระดมสมองเข้าช่วยแยกแยะองค์ประกอบ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกมองจากข้างนอกเข้าข้างใน-โอกาส(O) อุปสรรค(T)/ภายในมองข้างในไปข้างนอก-จุดแข็ง(S) จุดอ่อน(W)

  42. การแยกแยะองค์ประกอบอย่างมีระบบการแยกแยะองค์ประกอบอย่างมีระบบ S-O มีจุดแข็งมีโอกาส จะทำอะไร O-W โอกาสไปปิดจุดอ่อน ทำอย่างไร S-T มีจุดแข็งจะแก้อุปสรรค อย่างไร W-T มีจุดอ่อน มีอุปสรรค จะป้องกันอย่างไร จะเสริมสร้างจุดอ่อนอย่างไร **ทำแล้ว**

  43. การนำผลที่ได้จากการแยกองค์ประกอบอย่างมีระบบมาลงผังการนำผลที่ได้จากการแยกองค์ประกอบอย่างมีระบบมาลงผัง 1.ผังก้างปลา Fish Bone Diagram 2.ผังรากไม้ Tree Diagram 3.ตาราง SWOT

  44. ผังก้างปลา *ค.ศ.1943 ศ. คาโอรุซิเกว่า ชาวญี่ปุ่น ผัง อิซิกาว่า(Ishikawa Diagram) แผนที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหากับสาเหตุ *ผังก้างปลา (Fish Bone Diagram) สำนักงานอุตสาหกรรมแห่งญี่ปุ่น(JIS) คือแผนผังที่ใช้แสดงความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบระหว่างสาเหตุหลาย ๆ สาเหตุที่ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาใดปัญหาหนึ่ง

  45. ผังก้างปลา *กำหนดปัญหาที่หัวปลา *กำหนดกลุ่มปัญหาที่จะเกิดปัญหานั้น *ระดมสมองเพื่อหาสาเหตุในแต่ละปัจจัย *หาสาเหตุหลักของปัญหา *จัดลำดับความสำคัญของสาเหตุ *สรุปแนวทางการปรับปรุงที่จำเป็น

  46. ผังรากไม้ *แผนผังครอบครัว (Family Tree) และ การจัดแผนผังองค์กร (Organization Chart) แผนภูมิต้นไม้(Tree Diagram) แผนภูมิระบบ(Systematic Diagram) *ผังรากไม้ เอาปัญหามากำหนดเป็นโคนต้นไม้ แล้วแตกเป็นรากแขนง(Primary root) มากมายแต่ละรากแขนงจะแตกออกเป็นรากฝอย(Secondary root)ย่อย ๆ ต้นตอขอสาเหตุอาจโยงไปโยงมา ปลายรากแต่ละรากคือคำตอบ

  47. เทคนิคการระดมสมอง *ใช้ในทุกขั้นตอนที่ต้องการความคิด หลากหลาย และสร้างสรรค์ *เมื่อต้องการวิเคราะห์ปัญหา *เมื่อต้องการหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น *เมื่อต้องการตั้งหัวข้อปัญหาเพื่อจะทำงานเชิงวิเคราะห์

  48. กฎกติกามารยาทในการระดมสมองกฎกติกามารยาทในการระดมสมอง

  49. กฎกติกามารยาทในการระดมสมองกฎกติกามารยาทในการระดมสมอง

More Related