390 likes | 986 Views
การประเมินผลโครงการ. โดย น.อ.สมคิด ทิมสาด ผอ.กกป.พร. การประเมินผล Evaluation. คำจำกัดความ การประเมินผล Evaluation = เป็นการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ( Efficiency) ประสิทธิผล ( Effectiveness) และผลกระทบ( Impact) ของโครงการ( Project)
E N D
การประเมินผลโครงการ โดย น.อ.สมคิด ทิมสาด ผอ.กกป.พร.
การประเมินผลEvaluation • คำจำกัดความ การประเมินผล Evaluation= เป็นการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ(Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness) และผลกระทบ(Impact)ของโครงการ(Project) • การควบคุมกำกับ หรือการติดตามผลการปฏิบัติงาน(Monitoring)= เป็นการศึกษากระบวนการนำทรัพยากรของโครงการ(Input) มาดำเนินงานในกิจกรรม(Process/Activity)ต่างๆ ภายในระยะเวลาที่กำหนดเพื่อให้เกิดผลผลิตของโครงการ(output)
แผนงาน(Program) = กลยุทธ์ขององค์กรที่วางแผนไว้เป็นช่วงระยะเวลา เช่นระยะสั้น(๓ ปี) ระยะกลาง(๕ ปี) ระยะยาว(๑๐ ปี) โครงการ(Project)=ชุดของกิจกรรมที่นำทรัพยากร(Input) เข้าสู่ กิจกรรม(Process) เพื่อให้ได้ผลผลิต(Output) ที่มีผลต่อการบรรลุตามความสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์(Purpose) ของโครงการ(Effect/Outcome) นำไปสู่ผลประโยชน์ที่เป็นจุดมุ่งหมายหรือเป้าประสงค์(Objective) ของการพัฒนาโดยภาพรวมที่โครงการมีส่วนทำให้เกิดขึ้น(Impact) ตัวชี้วัดผลงาน(Performance Indicator) = การกำหนดคุณลักษณะ(Quality)หรือปริมาณ(Quantity) ของผลผลิต(Output) จากกิจกรรม(Process) ของโครงการ(Project)
จุดมุ่งหมาย(Objective)= เป้าประสงค์การพัฒนาโดยภาพรวมหรือผลกระทบ(Impact) • วัตถุประสงค์(Purpose)=ผลลัพธ์(Effect/Outcome) ที่โครงการต้องการให้บรรลุตามความสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้เป็นการเฉพาะ • ผลผลิต(Output)=ผลที่เกิดขึ้นหรือผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการจัดทำกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ(เป็นรูปธรรมที่ทุกคนหลับตาจะเห็นภาพตรงกัน เกิดขึ้นทันทีทันตาเมื่อกิจกรรมสิ้นสุดลง) • กิจกรรม(Process/Activity)=กิจกรรมสำคัญที่ต้องกระทำโดยการใช้ทรัพยากรของโครงการ(Input)เพื่อทำให้เกิดผลผลิต(Output)ของโครงการ
ประสิทธิภาพ(Efficiency)=การเปรียบเทียบระหว่างผลผลิต(Output) กับทรัพยากรของโครงการหรือปัจจัยนำเข้า (Input) สูตรการคำนวณ = Output Input • ประสิทธิผล(Effectiveness)= การเปรียบเทียบระหว่างผลลัพธ์(Effect/Outcome) กับวัตถุประสงค์(Purpose)
ลำดับขั้นความรับผิดชอบลำดับขั้นความรับผิดชอบ ระบบราชการ ระบบเอกชน ยุทธศาสตร์/แผนบริหารบริษัท (Impact) เป็นบริษัทชั้นนำ กรรมการผู้จัดการบริษัท รัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ/แผนบริหารราชการแผ่นดิน(Impact) เป็นที่นิยมของกลุ่มเป้าหมาย(Outcome) แผนกลยุทธ์/แผนงาน(Outcome) CEO บริษัท กระทรวง ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ (Product) ผู้จัดการฝ่าย กรม(เหล่าทัพ) ผลผลิต (Output) กอง (นขต.เหล่าทัพ) กระบวนการผลิต(Process) โครงการ/แผนปฏิบัติการ(Process) หัวหน้าแผนก
องค์ประกอบของโครงการ ผลกระทบ(Impact) ผลลัพธ์(Outcome) ผลผลิต (Output) กิจกรรม(Process/Activity) ปัจจัยนำเข้า(Input) บริบท(Context)
องค์ประกอบของโครงการ การติดตามผลการปฏิบัติงาน (Monitoring) กิจกรรม (Process/ Activity) ผลผลิต (Output) ปัจจัยนำเข้า(Input) การประเมินประสิทธิภาพของโครงการ (Process/Efficiency Evaluation)
องค์ประกอบของโครงการ การประเมินประสิทธิผล (Project/Effectiveness Evaluation) ผลกระทบ (Impact) ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) การประเมินผลกระทบของโครงการ (Impact Evaluation)
องค์ประกอบของโครงการ การประเมินประสิทธิผล (Project/Effectiveness Evaluation) การติดตามผลการปฏิบัติงาน (Monitoring) กิจกรรม (Process/ Activity) ผลกระทบ (Impact) ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ปัจจัยนำเข้า(Input) การประเมินประสิทธิภาพของโครงการ (Process/Efficiency Evaluation) การประเมินผลกระทบของโครงการ (Impact Evaluation)
ระดับการประเมินผลโครงการระดับการประเมินผลโครงการ ผลกระทบ(Impact) รัฐบาล การประเมินผลกระทบของโครงการ (Impact Evaluation) ผลลัพธ์(Outcome) การประเมินประสิทธิผล (Project/Effectiveness Evaluation) กระทรวง ผลผลิต (Output) การประเมินประสิทธิภาพของโครงการ (Process/Efficiency Evaluation) กรม(เหล่าทัพ) กิจกรรม(Process/Activity) การติดตามผลการปฏิบัติงาน (Monitoring) กอง (นขต.เหล่าทัพ) ปัจจัยนำเข้า(Input) บริบท(Context)
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ทางด้าน STEP S = Socio-cultural T = Technological E = Economic P = Political and legal
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ทางด้าน ๒ S ๔ M S = Structure S = Service M = Manpower M = Money M = Materials M = Management
การเขียนโครงการ • การเขียนโครงการแบบประเพณีนิยม(Conventional Method) • - วิธีคิด เริ่มจากการพิจารณาว่าหน่วยงานจะจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างไร • เพื่อให้ได้ผลตามหน้าที่ของหน่วยงาน • - เป็นวิธีการจัดทำงบประมาณแบบ Line Item Budget • ๒. การเขียนโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์(Logical Framework Method) • - วิธีคิด เริ่มจากการกำหนดจุดหมายปลายทางว่า หน่วยงานต้องการให้เกิดผลประโยชน์ ในระดับโครงการและระดับแผนงานอย่างไรบ้าง หน่วยงานจะต้องสร้างผลผลิตอะไร ด้วยกิจกรรมอะไร จึงทำให้บรรลุเป้าประสงค์ของแผนงานนั้น • - เป็นวิธีการจัดทำงบประมาณแบบ Program Budget
แบบฟอร์มการประเมินโครงการแบบประเพณีนิยมแบบฟอร์มการประเมินโครงการแบบประเพณีนิยม ชื่อโครงการ ..................................................................... ที่มาและความสำคัญของโครงการ ..................................................................... วัตถุประสงค์ของโครงการ .................................................................... เป้าหมายหรือผลผลิตที่ต้องการ .................................................................... วิธีการดำเนินการ ...................................................................... ระยะเวลาดำเนินการ ...................................................................... งบประมาณที่เสนอขอ ........................................................................ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ......................................................................ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ .....................................................................
การปรับตัวของข้าราชการต้องการปรับตัวของข้าราชการต้อง • เปลี่ยนวิธีคิด จาก “สรรหาทรัพยากรก่อนกำหนดจุดหมายปลายทาง” • เป็น “กำหนดจุดหมายปลายทางก่อนสรรหาทรัพยากร” • จาก “ทำงานแบบโทษคนอื่นว่าเป็นอุปสรรคและรอคอยชะตากรรม” • เป็น “ทำงานแบบเอาชนะอุปสรรค และรู้จักแสวงหาโอกาส”
การกำหนดตัวชี้วัดในระดับต่างๆการกำหนดตัวชี้วัดในระดับต่างๆ ผลกระทบ(Impact) - ต้องเขียนในลักษณะที่บอกว่า กลุ่มสังคมหรือประชาชนโดยส่วนรวมจะได้รับผลประโยชน์อะไร เช่น เด็กอายุ ๐ – ๕ ปี มีภาวะโภชนาการปกติ ผลลัพธ์(Outcome) – บอกถึงกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการให้เปลี่ยนพฤติกรรม และบอกถึงผลประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายจะได้รับในแง่ที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เช่น “มารดาสามารถให้บุตรรับประทานอาหารครบ ๕ หมู่ได้อย่างถูกต้อง
การกำหนดตัวชี้วัดในระดับต่างๆการกำหนดตัวชี้วัดในระดับต่างๆ ผลผลิต (Output) – ต้องเขียนข้อความในลักษณะที่ถูกกระทำ(Passive voice) เช่น “มารดาผู้เข้ารับการอบรมความรู้มีความเข้าใจในเรื่องภาวะโภชนาการของเด็ก” กิจกรรม(Process/Activity) – ขึ้นต้นประโยคด้วยถ้อยคำ “กิริยา” ที่เป็นรูปธรรมโดยมีความหมายถึงกิจกรรม เช่น “ให้ความรู้แก่ชาวบ้าน” “จัดประชุมกลุ่ม” “สาธิตการใช้ผงเกลือแร่” “เผยแพร่เอกสารคำแนะนำ”