470 likes | 880 Views
ระบบข้อเสนอแนะ ( Suggestion System). กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม 1 ก.ค. 2551. คุณากร เพชรคง Knowledge Power Co.,Ltd. สิ่งนี้ คือ จุด ?. สิ่งนี้ คือ จุด ?. ท่านสามารถลากเส้นต่อทั้ง 9 จุด โดยไม่ยกปากกา น้อยกว่า 4 เส้นได้กี่วิธี. วิกฤตเศรษฐกิจไทย.
E N D
ระบบข้อเสนอแนะ (Suggestion System) • กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม • กระทรวงอุตสาหกรรม • 1 ก.ค. 2551 คุณากร เพชรคง Knowledge Power Co.,Ltd. Kunakorn Pecharakong
สิ่งนี้ คือ จุด ? Kunakorn Pecharakong
สิ่งนี้ คือ จุด ? Kunakorn Pecharakong
ท่านสามารถลากเส้นต่อทั้ง 9 จุดโดยไม่ยกปากกาน้อยกว่า 4 เส้นได้กี่วิธี Kunakorn Pecharakong
วิกฤตเศรษฐกิจไทย พ.ศ. 2516 น้ำมัน GDP Growth 6.4% พ.ศ. 2522 ลดค่าเงินบาท GDP Growth 6.7% พ.ศ. 2524 ลดค่าเงินบาท GDP Growth 5.5% พ.ศ. 2528 ขาดดุล/เป็นหนี้ GDP Growth 5.5% พ.ศ. 2540 ลอยค่าเงินบาท GDP Growth -0.4% พ.ศ. 2551 น้ำมัน+ไม่สามัคคี GDP Growth 4.5%? ที่มา: ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล Kunakorn Pecharakong
ระบบข้อเสนอแนะ (Suggestion System : SS) มีการใช้ครั้งแรกในประเทศสก๊อตแลนด์เมื่อปี ค.ศ. 1880 โดย บริษัท วิลเลียมเคนน์ จำกัด ต่อมาปี ค.ศ. 1894 บริษัทในประเทศสหรัฐฯ ได้นำไปใช้ ส่วนประเทศญี่ปุ่นนั้นเริ่มนำระบบข้อเสนอแนะมาใช้ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 บริษัทในเครือญี่ปุ่นในประเทศไทยได้นำระบบข้อเสนอแนะมาใช้ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก และต่อมามีการใช้อย่างกว้างขวางทั้งภาครัฐบาลและเอกชน Kunakorn Pecharakong
ความหมายของระบบข้อเสนอแนะ (SS) ระบบข้อเสนอแนะเป็นระบบที่สนับสนุนและเปิดโอกาสให้บุคคลที่ปฏิบัติงานได้แสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยเน้นที่พนักงานในบริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรม เพราะเชื่อว่าผู้ที่ปฏิบัติงานย่อมรู้ปัญหาต่างๆ ได้ดีกว่าบุคคลภายนอก Kunakorn Pecharakong
วัตถุประสงค์ของระบบข้อเสนอแนะ (SS) • เพื่อส่งเสริมให้พนักงานมีจิตสำนึกในเรื่องขอการทำงานและแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาบริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรม • เพื่อก่อให้เกิดขวัญและกำลังใจและความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน โดยใช้พนักงานฝ่ายต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการปรับปรุงงาน • เพื่อยกระดับงานและวิธีการทำงานแบบใหม่ อันก่อให้เกิดคุณภาพในงาน • เพื่อเสริมสร้างให้บริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรมได้มีการพัฒนาและปรับปรุงได้อย่างต่อเนื่องและอย่างเป็นระบบ Kunakorn Pecharakong
ตัวอย่างข้อเสนอแนะที่รับพิจารณาตัวอย่างข้อเสนอแนะที่รับพิจารณา • ข้อเสนอแนะเพื่อลดเวลาการปฏิบัติงานของพนักงาน • ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานของพนักงาน • ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประหยัดกำลังคน วัสดุและค่าใช้จ่ายต่างๆ ภายในบริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรม • ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ และเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม • ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการผลิตสินค้าใหม่ ๆ ที่ทันสมัยตรงตามความต้องการของลูกค้า Kunakorn Pecharakong
ตัวอย่างข้อเสนอแนะที่รับพิจารณาตัวอย่างข้อเสนอแนะที่รับพิจารณา • ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการดำเนินธุรกิจ • ข้อเสนอเกี่ยวกับการปรับปรุงสภาพการทำงานด้านความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมและมลภาวะต่างๆ • ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุงคุณภาพของสินค้าและบริการต่างๆ • ข้อเสนอแนะในการลดขั้นตอนและกรรมวิธีในการผลิต • ข้อเสนอแนะใดๆ ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานของฝ่ายต่างๆ ใน บริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรม Kunakorn Pecharakong
ตัวอย่างข้อเสนอแนะที่ไม่รับพิจารณาตัวอย่างข้อเสนอแนะที่ไม่รับพิจารณา • ข้อเสนอแนะเกี่ยวข้องกับสิทธิในการจัดการ เช่น เรื่องเกี่ยวกับค่าจ้าง สวัสดิการ ฯลฯ • ข้อเสนอแนะให้สร้างต่อเติมอาคารใหม่ หรือซื้อเครื่องจักรใหม่ • ข้อเสนอแนะเรื่องเกี่ยวกับการละเลยหรือบกพร่องในหน้าที่ของผู้ที่เสนอเองหรือพนักงานอื่นๆ • ข้อเสนอให้ซ่อมแซมอาคารหรือเครื่องจักร เว้นแต่ข้อเสนอให้ปรับปรุงวิธีการซ่อมแซม Kunakorn Pecharakong
แนวทางการพิจารณาข้อเสนอแนะแนวทางการพิจารณาข้อเสนอแนะ • มีความเป็นไปได้ขนาดไหน • มีผลต่อบริษัทระดับใด • ใช้ความพยายามมากน้อยเพียงใด • เป็นความคิดใหม่หรือไม่ Kunakorn Pecharakong
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับข้อเสนอแนะแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะที่พนักงานได้เสนอเข้ามาจะผ่านการพิจารณาโดยคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ภายในบริษัทที่จัดตั้งขึ้น โดยผู้บริหารภายในบริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรม หากคณะกรรมการพิจารณาตัดสินแล้ว จะมีรางวัลมอบแก่ผู้เสนอแนะหลังจากนั้นทางบริษัทจะแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการต่อไป โดยมีพนักงานทุกฝ่ายเป็นกรรมการ Kunakorn Pecharakong
Kaizen การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง * ไคเซ็น(KAIZEN) มาจากคำว่า 改善 เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่า การเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ดีขึ้น หรือปรับปรุงให้ดีขึ้น หรือการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง * ไคเซ็น (การปรับปรุงให้ดีขึ้น) เป็นการปฏิบัติงานโดยใช้สติปัญญาของคนงานในการทำกิจกรรมเองซึ่งไม่ได้เป็นคำสั่งจากเบื้องบน จึงเป็นลักษณะเฉพาะพิเศษของกิจกรรมนี้ * ไคเซ็น ไม่ใช่เป็นการกิจกรรมที่เสร็จสิ้นแค่ครั้งเดียวแต่จะทำอย่างต่อเนื่องและไม่มีที่สิ้นสุด Kunakorn Pecharakong
Kaizen การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง • กุญแจแห่งความสำเร็จของ KAIZEN KAI คือ Continuous ZEN คือ Improvement KAIZEN = Continuous Improvement คือ การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ภายใต้กระบวนการ Plan-Do-Check-Act คือ วิเคราะห์ปัญหา วางแผนหาวิธีแก้ปัญหา ทดลอง แล้วตรวจสอบว่าแก้ปัญหาได้หรือไม่ Kunakorn Pecharakong
ดำเนินขั้นตอนการทำ Kaizen ตามแบบ PDCA • 1. คัดเลือกปัญหาที่จะทำ โดยใช้ข้อมูล มาเป็นการกำหนดปัญหาที่จะทำ ก่อนหลัง • 2. ทำความเข้าใจปัญหาให้ถ่องแท้ โดยเน้น การเข้าไปดูสถานที่จริง • 3. จัดทำแผนการที่จะแก้ไขปัญหา เตรียมพร้อมเรื่องคน อุปกรณ์ ความรู้ • 4. วิเคราะห์ปัญหาว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเกิดได้อย่างไร มีปรากฏการณ์อย่างไร • 5. นำเอาวิธีการที่ได้จากการวิเคราะห์ลองนำไปแก้ไขตามแผนที่ได้วางเอาไว้ DO • 6. Check นำเอาผลที่ได้มาวิเคราะห์ว่าได้ผล หรือมีปัญหาอย่างไร • 7. Action หรือการจัดทำมาตรฐาน เพื่อนำไปปฏิบัติ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเดิมอีก การทำ PDCA ไม่จำเป็นต้องทำให้ครบ 7 ขั้นตอนก่อน ถึงไปเริ่มขั้นที่ 1 ใหม่ เวลามีปัญหาติดขัดสามารถย้อนไปทำในขั้นต้น ๆได้เสมอถี่เท่าที่ต้องการ Kunakorn Pecharakong
KAIZEN กับ Suggestion KAIZEN คือ "ฉันทำ" ส่วน Suggestion ระบบข้อเสนอแนะ คือ "คุณน่ะทำ" เสนอให้คนอื่นทำ แต่เนื่องจากจะดูเหมือนเป็นการยุ่งเรื่องของคนอื่น คนคิดไม่ได้ทำ คนทำก็รู้สึกเหมือนถูกสั่งให้ทำ เลยดูไม่ค่อยจะพอใจนัก แต่ก็จำเป็นต้องมี เพราะบางทีสายตาคนนอกจะมองเห็นอีกมุมหนึ่ง ดังนั้นอัตราส่วน KAIZEN กับ Suggestion จึงอยู่ที่ 80:20 KAIZEN จึงจัดให้เป็นกิจกรรม ส่วน Suggestion บางส่วนจะถูกจัดไว้ในระบบการทำงาน Kunakorn Pecharakong
ช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจรช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจร 2. คิดถึง สิ่งที่ดีที่สุด 3. ใครเป็นเจ้าภาพ 1. ปัญหาคืออะไร ค่าใช้จ่ายเปรียบเทียบกับประโยชน์ จะแก้ไขอย่างไร คำตอบ อยู่ในปัญหา ข้อดีเปรียบเทียบกับข้อเสีย คุณมีความคิดอะไรบ้าง มีทางเลือกอื่นอีกไหม เราทำอะไรได้บ้าง พวกเราควรทำอะไร คนอื่นมีแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดอะไรบ้าง Kunakorn Pecharakong © ผศ. ดร. ประศักดิ์ หอมสนิท, รศ. ดร. อรจรีย์ ณตะกั่วทุ่ง และ อ.คุณากร เพชรคง
ช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจรช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจร 1. ปัญหาคืออะไร What Kunakorn Pecharakong © ผศ. ดร. ประศักดิ์ หอมสนิท, รศ. ดร. อรจรีย์ ณตะกั่วทุ่ง และ อ.คุณากร เพชรคง
ช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจรช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจร 2. คิดถึง สิ่งที่ดีที่สุด 1. ปัญหาคืออะไร จะแก้ไขอย่างไร คำตอบ อยู่ในปัญหา Kunakorn Pecharakong © ผศ. ดร. ประศักดิ์ หอมสนิท, รศ. ดร. อรจรีย์ ณตะกั่วทุ่ง และ อ.คุณากร เพชรคง
ช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจรช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจร 2. คิดถึง สิ่งที่ดีที่สุด 1. ปัญหาคืออะไร จะแก้ไขอย่างไร คำตอบ อยู่ในปัญหา คุณมีความคิดอะไรบ้าง Kunakorn Pecharakong © ผศ. ดร. ประศักดิ์ หอมสนิท, รศ. ดร. อรจรีย์ ณตะกั่วทุ่ง และ อ.คุณากร เพชรคง
ช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจรช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจร 2. คิดถึง สิ่งที่ดีที่สุด เราทำอะไรได้บ้าง 1. ปัญหาคืออะไร จะแก้ไขอย่างไร คำตอบ อยู่ในปัญหา คุณมีความคิดอะไรบ้าง เราทำอะไรได้บ้าง Kunakorn Pecharakong © ผศ. ดร. ประศักดิ์ หอมสนิท, รศ. ดร. อรจรีย์ ณตะกั่วทุ่ง และ อ.คุณากร เพชรคง
ช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจรช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจร 2. คิดถึง สิ่งที่ดีที่สุด 1. ปัญหาคืออะไร จะแก้ไขอย่างไร คำตอบ อยู่ในปัญหา คุณมีความคิดอะไรบ้าง เราทำอะไรได้บ้าง คนอื่นมีแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดอะไรบ้าง Kunakorn Pecharakong © ผศ. ดร. ประศักดิ์ หอมสนิท, รศ. ดร. อรจรีย์ ณตะกั่วทุ่ง และ อ.คุณากร เพชรคง
ช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจรช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจร 2. คิดถึง สิ่งที่ดีที่สุด 1. ปัญหาคืออะไร จะแก้ไขอย่างไร คำตอบ อยู่ในปัญหา คุณมีความคิดอะไรบ้าง เราทำอะไรได้บ้าง พวกเราควรทำอะไร คนอื่นมีแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดอะไรบ้าง Kunakorn Pecharakong © ผศ. ดร. ประศักดิ์ หอมสนิท, รศ. ดร. อรจรีย์ ณตะกั่วทุ่ง และ อ.คุณากร เพชรคง
ช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจรช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจร 2. คิดถึง สิ่งที่ดีที่สุด 1. ปัญหาคืออะไร จะแก้ไขอย่างไร คำตอบ อยู่ในปัญหา คุณมีความคิดอะไรบ้าง มีทางเลือกอื่นอีกไหม เราทำอะไรได้บ้าง พวกเราควรทำอะไร คนอื่นมีแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดอะไรบ้าง Kunakorn Pecharakong © ผศ. ดร. ประศักดิ์ หอมสนิท, รศ. ดร. อรจรีย์ ณตะกั่วทุ่ง และ อ.คุณากร เพชรคง
ช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจรช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจร 2. คิดถึง สิ่งที่ดีที่สุด 1. ปัญหาคืออะไร จะแก้ไขอย่างไร คำตอบ อยู่ในปัญหา ข้อดีเปรียบเทียบกับข้อเสีย คุณมีความคิดอะไรบ้าง มีทางเลือกอื่นอีกไหม เราทำอะไรได้บ้าง พวกเราควรทำอะไร คนอื่นมีแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดอะไรบ้าง Kunakorn Pecharakong © ผศ. ดร. ประศักดิ์ หอมสนิท, รศ. ดร. อรจรีย์ ณตะกั่วทุ่ง และ อ.คุณากร เพชรคง
ช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจรช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจร 2. คิดถึง สิ่งที่ดีที่สุด 1. ปัญหาคืออะไร ค่าใช้จ่ายเปรียบเทียบกับประโยชน์ จะแก้ไขอย่างไร คำตอบ อยู่ในปัญหา ข้อดีเปรียบเทียบกับข้อเสีย คุณมีความคิดอะไรบ้าง มีทางเลือกอื่นอีกไหม เราทำอะไรได้บ้าง พวกเราควรทำอะไร คนอื่นมีแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดอะไรบ้าง Kunakorn Pecharakong © ผศ. ดร. ประศักดิ์ หอมสนิท, รศ. ดร. อรจรีย์ ณตะกั่วทุ่ง และ อ.คุณากร เพชรคง
ช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจรช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจร 2. คิดถึง สิ่งที่ดีที่สุด 3. ใครเป็นเจ้าภาพ 1. ปัญหาคืออะไร คำตอบ อยู่ในปัญหา
ช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจรช่วยกันคิดช่วยกันทำอย่างเป็นระบบครบวงจร โครงการ/ภารกิจ ..................................... ..................................... ข้อมูลพื้นฐาน ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... การดำเนินการขั้นต่อไป ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... 2. คิดถึง สิ่งที่ดีที่สุด © ผศ. ดร. ประศักดิ์ หอมสนิท, รศ. ดร. อรจรีย์ ณตะกั่วทุ่ง และ อ.คุณากร เพชรคง
6W+2H • What/ทำอะไร • Why/ทำไมต้องทำ • Whom/ทำเพื่อใคร • Who/ทำโดยใคร • How/ทำอย่างไร • Where/ทำที่ไหน • When /ทำเมื่อไหร่ • How much/จ่าย/รับเท่าไร Kunakorn Pecharakong
Model เศรษฐกิจพอเพียงของคุณากร เพชรคง มีเหตุผล พอประมาณ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ความรู้ คุณธรรม Kunakorn Pecharakong
Model เศรษฐกิจพอเพียงของคุณากร เพชรคง มีเหตุผล พอประมาณ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตั้งใจ ทำเต็มที่ ความรู้ คุณธรรม Kunakorn Pecharakong
ครอบครัวดี + งานดี = สังคมดี มีเหตุผล พอประมาณ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตั้งใจ ทำเต็มที่ ความรู้ คุณธรรม Kunakorn Pecharakong
ถาม - ตอบ Kunakorn Pecharakong