560 likes | 1.51k Views
คณะกรรมการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล. โครงสร้างการบริหารงานคณะกรรมการ IC. คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล. คณะกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล. ICN. ICWN. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง. www.themegallery.com. Company Logo. คณะกรรมการ IC. หน่วยงานผู้ป่วยใน. หน่วยงานผู้ป่วยนอก.
E N D
คณะกรรมการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลคณะกรรมการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
โครงสร้างการบริหารงานคณะกรรมการ IC คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล คณะกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล ICN ICWN หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง www.themegallery.com Company Logo
คณะกรรมการ IC หน่วยงานผู้ป่วยใน หน่วยงานผู้ป่วยนอก โรงครัว หน่วยงานสุขาภิบาล หน่วยงานห้องคลอด ทีม IC หน่วยงานซักฟอก - จ่ายกลาง หน่วยงานห้องผ่าตัด PCU หน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน หน่วยงานชันสูตร
แผนภูมิแสดงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อในรพ. ICWN อาการ/อาการแสดง • ผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ • ปรึกษาแพทย์ผู้รักษา สงสัยมีการติดเชื้อใน รพ.แจ้งICN ICN วินิจฉัยการติดเชื้อร่วมกับแพทย์ การติดเชื้อในรพ.(NI) ติดเชื้อจากชุมชน (CI) ICN+ICWN วิเคราะห์ข้อมูลในหน่วยงาน แจ้งเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานให้รับทราบ ลงบันทึกข้อมูลของหน่วยงาน ทบทวนกิจกรรมของหน่วยงาน/แนวปฏิบัติร่วมกับหน่วยงาน ICN ลงข้อมูลของ รพ. รายงานการผลการเฝ้าระวังใน รพ. ให้คณะกรรมการ IC ทราบ ICN สรุปผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อในภาพรวม
เป้าหมาย • ผู้รับบริการและบุคลากรของโรงพยาบาล ปลอดภัยจากการติดเชื้อในโรงพยาบาล • บุคลากรมีความรู้และเข้าใจในกลวิธี มาตรการ รวมถึงบทบาท ของตนเองในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ พร้อมทั้งสามารถปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ • มีการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลให้สะอาด ปลอดภัย และมีการกำจัดขยะสิ่งปฏิกูลอย่างถูกวิธี และได้มาตรฐาน • Contact Precaution • TB • ขยะติดเชื้อ • ลดอุบัติการณ์ การเกิดเข็มทิ่มตำ จุดเน้นปี 2554
รูปแบบการเฝ้าระวัง มีการเฝ้าระวังแบบ • Hospital wide surveillance • TargetedSurveillance - Surgicalclean wound - Episiotomy -Omphalitis - CA- UTI ในผู้ป่วยใส่สายสวนปัสสาวะ - IV site infection • Post Discharge Surveillance
ตัวชี้วัดงาน IC (ผู้รับบริการ)
ตัวชี้วัดงาน IC (ผู้รับบริการ)
อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล :1000วันนอน 1.69 0.88
การติดเชื้อที่สะดือในทารกแรกเกิด (Omphalitis
ตัวชี้วัดงาน IC (บุคลากร)
ตัวชี้วัดงาน IC (บุคลากร)
ทบทวนการติดเชื้อTBในเจ้าหน้าที่ทบทวนการติดเชื้อTBในเจ้าหน้าที่
ทบทวนการเกิดอุบัติเหตุจากเข็มทิ่มตำทบทวนการเกิดอุบัติเหตุจากเข็มทิ่มตำ วิเคราะห์สาเหตุ 1.รีบเร่งในการปฏิบัติงาน/ขาดความระมัดระวัง 2.การเก็บอุปกรณ์มีคมผิดวิธี 3.ไม่ใช้One hand technique แนวทางการแก้ไข 1.ปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวัง/ไม่รีบเร่ง 2.เน้น One hand technique ในเจ้าหน้าที่ใหม่ 3.ใช้ Forceps ในการเก็บของมีคม 4.ใช้หลักใครใช้ คนนั้นเก็บ
ตัวชี้วัดงาน IC (ด้านสิ่งแวดล้อม)
การทบทวนน้ำทิ้ง น้ำเสียไม่ผ่านเกณฑ์ วิเคราะห์สาเหตุ • ระบบการดูแลเครื่องกรองน้ำยังไม่มีประสิทธิภาพ • ระบบบำบัดน้ำเสีย ชำรุด แนวทางการแก้ไข • ร่วมกับทีม ENV หาแนวทางแก้ไข • ซื้อน้ำกรองจากภายนอกสำหรับผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ บริโภค • เสนอเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องกรองน้ำ ประสานกับผู้เกี่ยวข้องเรื่องการดูแลเครื่องกรอง
สิ่งที่ดำเนินการแล้ว • Contact Precaution 1.มีการจัดห้องแยกโดยใช้ห้องพิเศษ3,4,5 เพื่อรับผู้ป่วยที่Referกลับจาก รพศ. เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยา 2. มี Alcohol hand rub พร้อมแยกอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้และคำแนะนำสำหรับผู้ป่วยและญาติ ไว้หน้าห้อง 3. มีการจัดประชุมวิชาการ 4. มีการจัด Cohort Ward สำหรับผู้ป่วยที่มีการแพร่เชื้อทางการสัมผัสเช่น Diarrhea ไว้ท้าย ward • TB 1.มี Flow TB ใหม่ที่ OPD 2. เน้น Active TB ให้ Admit พิเศษ 6 3.เน้นการใช้ Mask ในผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่
สิ่งที่ดำเนินการแล้ว • ขยะติดเชื้อ • ให้ความรู้กับญาติและผู้ป่วยในจุดที่มีขยะติดเชื้อ เช่น ward,บริเวณที่มีการเจาะเลือดหรือฉีดยา • ให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ รพ.ครบ 100 %โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ใหม่ • ยกเลิกขยะติดเชื้อในห้องน้ำเจ้าหน้าที่ • กำหนดเส้นทางเดินขยะติดเชื้อ เวลาเก็บขยะในโรงพยาบาล
IC & ไข้หวัด 2009 * จัดประชุมชี้แจงแนวทางไข้หวัด2009 100 %
คัดกรองที่หน้าห้องบัตรคัดกรองที่หน้าห้องบัตร
จัดตั้งคลินิกตรวจโรคระบบทางดินหายใจเฉพาะจัดตั้งคลินิกตรวจโรคระบบทางดินหายใจเฉพาะ
การรักษาและจ่ายยา ณ.จุดเดียวกัน
มีCohort Wardในหอผู้ป่วยชายแยกชัดเจน
ป้องกันการระบาดไข้เลือดออกในรพ.ป้องกันการระบาดไข้เลือดออกในรพ.
รณรงค์ควบคุมลูกน้ำยุงลาย ร่วมกับPCU
ประเมินการคัดแยกขยะในหน่วยงานประเมินการคัดแยกขยะในหน่วยงาน
สิ่งที่จะดำเนินการต่อไปสิ่งที่จะดำเนินการต่อไป • ทบทวนแนวทางปฏิบัติต่างๆที่มี และจัดทำแนวทางปฏิบัติใหม่ที่จำเป็น พร้อมทั้งประเมินแนวทางปฏิบัติที่จำเป็นเช่น แนวทางปฏิบัติการสวนปัสสาวะ แนวทางปฏิบัติการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ • ประเมินการล้างมือของบุคลากร • ประเมินการจัดการขยะติดเชื้อ • ทบทวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้อง • ทบทวนการติดเชื้อที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาล • รนรงค์ให้เจ้าหน้าที่ตรวจสุขภาพประจำปีให้ครบ 100%และตรวจประเมินทางด้านอาชีวอนามัย ในเจ้าหน้าที่กลุ่มเสี่ยง ในปี54