1 / 39

ดร.พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

พระพุทธศาสนากับ การพัฒนาสังคม (2). ดร.พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หัวข้อการบรรยาย. ความเข้าใจพื้นฐานทั่วไปเกี่ยวสังคมและมนุษย์ เป้าหมายการพัฒนาสังคมเชิงพุทธ กระบวนการพัฒนาสังคมเชิงพุทธ ธรรมะสำหรับการพัฒนาสังคม

earl
Download Presentation

ดร.พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระพุทธศาสนากับ การพัฒนาสังคม (2) ดร.พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

  2. หัวข้อการบรรยาย • ความเข้าใจพื้นฐานทั่วไปเกี่ยวสังคมและมนุษย์ • เป้าหมายการพัฒนาสังคมเชิงพุทธ • กระบวนการพัฒนาสังคมเชิงพุทธ • ธรรมะสำหรับการพัฒนาสังคม • หลักการนำพุทธธรรมไปใช้ในการพัฒนาสังคม

  3. หลักธรรมในการพัฒนาสังคมหลักธรรมในการพัฒนาสังคม

  4. หลักธรรมเพื่อส่งเสริมชีวิตที่ร่วมกันหลักธรรมเพื่อส่งเสริมชีวิตที่ร่วมกัน • ทาน 2 • ธรรมคุ้มครองโลก 2 (หิริ โอตัปปะ) • บุคคลหาได้ยากในโลก 2 • ปฏิสันถาร 2 • สังคหวัตถุ 4 • คารวะ 6 • สาธารณิยธรรม 6

  5. หลักธรรมเพื่อปกครอง คือจัดการชีวิตที่ดีร่วมกัน • อธิปไตย 3 • พรหมวิหาร 4 • สังคหวัตถุ 4 • อคติ 4 • พละ 5 • อปริหานิยธรรม 7 • ราชธรรม 10 • วัตถุประสงค์ในการบัญญัติวินัย 10

  6. มูลเหตุแห่งการบัญญัติวินัย : แนวทางการบัญญัติกฎหมาย • เพื่อการยอมรับว่าดีจากสงฆ์ • เพื่อความผาสุกแห่งสงฆ์/หมู่คณะ • เพื่อกำราบผู้ไม่มีความละอาย ดื้อด้าน • เพื่อความผาสุกของผู้มีศีล • เพื่อป้องกันความเสื่อมในปัจจุบัน • เพื่อปิดกั้นความเสื่อมอันจะพึงมีในอนาคต • เพื่อความเลื่อมใสของผู้ที่ยังไม่เลื่อมใส • เพื่อความเลื่อมใสเพิ่มขึ้นของผู้ที่เลื่อมใสอยู่แล้ว • เพื่อความดำรงมั่นแห่งพระศาสนา • เพื่อความอนุเคราะห์พระวินัย

  7. มูลเหตุแห่งการบัญญัติวินัยมูลเหตุแห่งการบัญญัติวินัย มูลเหตุ 10 • เพื่อการยอมรับว่าดีจากสงฆ์ • เพื่อความผาสุกแห่งสงฆ์/หมู่คณะ • เพื่อกำราบผู้ไม่มีความละอาย ดื้อด้าน • เพื่อความผาสุกของผู้มีศีล • เพื่อป้องกันความเสื่อมในปัจจุบัน • เพื่อกำราบความสกปรกอันจะพึงมีในอนาคต • เพื่อความเลื่อมใสของผู้ที่ยังไม่เลื่อมใส • เพื่อความเลื่อมใสเพิ่มขึ้นของผู้ที่เลื่อมใสอยู่แล้ว • เพื่อความดำรงมั่นแห่งพระศาสนา • เพื่อความอนุเคราะห์พระวินัย ประโยชน์แก่สงฆ์/ส่วนรวม

  8. มูลเหตุแห่งการบัญญัติวินัยมูลเหตุแห่งการบัญญัติวินัย มูลเหตุ 10 • ต้องได้รับความเห็นชอบจากสงฆ์ • เพื่อความผาสุกแห่งสงฆ์/หมู่คณะ • เพื่อกำราบผู้ไม่มีความละอาย ดื้อด้าน • เพื่อความผาสุกของผู้มีศีล • เพื่อป้องกันความเสื่อมในปัจจุบัน • เพื่อกำราบความสกปรกอันจะพึงมีในอนาคต • เพื่อความเลื่อมใสของผู้ที่ยังไม่เลื่อมใส • เพื่อความเลื่อมใสเพิ่มขึ้นของผู้ที่เลื่อมใสอยู่แล้ว • เพื่อความดำรงมั่นแห่งพระศาสนา • เพื่อความอนุเคราะห์พระวินัย เพื่อประโยชน์บุคคล

  9. มูลเหตุแห่งการบัญญัติวินัยมูลเหตุแห่งการบัญญัติวินัย มูลเหตุ 10 • ต้องได้รับความเห็นชอบจากสงฆ์ • เพื่อความผาสุกแห่งสงฆ์/หมู่คณะ • เพื่อกำราบผู้ไม่มีความละอาย ดื้อด้าน • เพื่อความผาสุกของผู้มีศีล • เพื่อป้องกันความเสื่อมในปัจจุบัน • เพื่อปิดกั้นความเสื่อมอันจะพึงมีในอนาคต • เพื่อความเลื่อมใสของผู้ที่ยังไม่เลื่อมใส • เพื่อความเลื่อมใสเพิ่มขึ้นของผู้ที่เลื่อมใสอยู่แล้ว • เพื่อความดำรงมั่นแห่งพระศาสนา • เพื่อความอนุเคราะห์พระวินัย เพื่อประโยชน์ แก่ความบริสุทธิ์แก่ชีวิต

  10. มูลเหตุแห่งการบัญญัติวินัยมูลเหตุแห่งการบัญญัติวินัย มูลเหตุ 10 • ต้องได้รับความเห็นชอบจากสงฆ์ • เพื่อความผาสุกแห่งสงฆ์/หมู่คณะ • เพื่อกำราบผู้ไม่มีความละอาย ดื้อด้าน • เพื่อความผาสุกของผู้มีศีล • เพื่อป้องกันความเสื่อมในปัจจุบัน • เพื่อกำราบความสกปรกอันจะพึงมีในอนาคต • เพื่อความเลื่อมใสของผู้ที่ยังไม่เลื่อมใส • เพื่อความเลื่อมใสเพิ่มขึ้นของผู้ที่เลื่อมใสอยู่แล้ว • เพื่อความดำรงมั่นแห่งพระศาสนา • เพื่อความอนุเคราะห์พระวินัย เพื่อประโยชน์แก่ประชาชน

  11. มูลเหตุแห่งการบัญญัติวินัยมูลเหตุแห่งการบัญญัติวินัย มูลเหตุ 10 • ต้องได้รับความเห็นชอบจากสงฆ์ • เพื่อความผาสุกแห่งสงฆ์/หมู่คณะ • เพื่อกำราบผู้ไม่มีความละอาย ดื้อด้าน • เพื่อความผาสุกของผู้มีศีล • เพื่อป้องกันความเสื่อมในปัจจุบัน • เพื่อกำราบความสกปรกอันจะพึงมีในอนาคต • เพื่อความเลื่อมใสของผู้ที่ยังไม่เลื่อมใส • เพื่อความเลื่อมใสเพิ่มขึ้นของผู้ที่เลื่อมใสอยู่แล้ว • เพื่อความดำรงมั่นแห่งพระศาสนา • เพื่อความอนุเคราะห์พระวินัย แก่ศาสนา/หลักการของสังคม

  12. หลักธรรมเพื่อปกครอง คือจัดการชีวิตที่ดีร่วมกัน • อธิปไตย 3 • พรหมวิหาร 4 • สังคหวัตถุ 4 • อคติ 4 • พละ 5 • อปริหานิยธรรม 7 • ราชธรรม 10 • วัตถุประสงค์ในการบัญญัติวินัย 10

  13. หลักธรรมเพื่อความสัมพันธ์ในสังคมหลักธรรมเพื่อความสัมพันธ์ในสังคม • อัคคิ 3 • ฆราวาสธรรม 4 • มิตรแท้-มิตรเทียม 4 • ทิศ 6 • กัลยาณมิตรธรรม 7

  14. หลักธรรมเพื่อความเป็นอยู่ดีทางเศรษฐกิจหลักธรรมเพื่อความเป็นอยู่ดีทางเศรษฐกิจ • ปาปณิกธรรม 3 • ทิฏฐธัมมิกัตถ 4 • ปัจจัย 4 • โภควิภาค 4 • ประโยชน์จากทรัพย์ 5 • โภคอาทิยะ 5 • กามโภคี 10

  15. หลักการนำธรรมะไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสังคม 1. ยึดธรรมะ (หน้าที่) เป็นใหญ่ “...อาหาร การนอน ความกลัวภัย เมถุนคือการเสพกาม ทั้งสัตว์และมนุษย์มีอยู่เหมือนกันหมด ธรรมนั่นเองที่ทำให้คนต่างจากสัตว์ คนที่ไม่มีธรรมหรือเสื่อมจากธรรม จึงเสมอกันกับสัตว์....”

  16. 2. มีกติกา กฎเกณฑ์ในการดำเนินการ(ตามหลักคุณธรรมของเหล่าจื๊อ) • เพราะเสื่อมจากคุณธรรม จึงมีเมตตาธรรม • เพราะเสื่อมจากเมตตาธรรม จึงมีจริยธรรม • เพราะเสื่อมจากจริยธรรม จึงมีจารีตประเพณี • เพราะเสื่อมจากจารีตประเพณี จึงมีกฎหมาย • ในมิติพุทธศาสนา คือ ยึดธรรมและวินัยในการปฏิบัติหน้าที่

  17. 3. มีวิธีแห่งการปฏิบัติโดยชอบ • ปฏิบัติบนความเสมอภาค สีลสามัญญตา = เสมอภาคในศีล/ระเบียบ ทิฏฐิสามัญญตา = เสมอภาคในความเห็น • ปฏิบัติเพื่อให้เกิดความสุขแก่บุคคลและสังคม

  18. 4. บริหารตน บริหารคน บริหารงาน ให้ชอบ • เพื่อให้เกิดสุข • เพื่อกระบวนการที่มีความสุข • เพื่อให้เป็นสุข • เพื่อประโยชน์เกื้อกูล

  19. ตัวอย่างการนำหลักธรรมไปใช้ในการพัฒนาสังคมตัวอย่างการนำหลักธรรมไปใช้ในการพัฒนาสังคม • พจนานุกรมขีดความสามารถของพระสงฆ์พระนักพัฒนา (Dictionary Competency) ขีดความสามารถหลักของพระสงฆ์พระนักพัฒนา Core Competency of Monk (CCM) • 1. ความรู้ในหลักพุทธธรรม CCM1 • 2. ความสามารถในการเทศน์สื่อสาร CCM2 • 3. ภาวะความเป็นผู้นำ CCM3 • 4. ความมีมนุษยสัมพันธ์ CCM4 • (วพ. พระฐานี จองเจน ม.แม่โจ้)

  20. ตัวอย่างการนำหลักธรรมไปใช้ในการพัฒนาสังคมตัวอย่างการนำหลักธรรมไปใช้ในการพัฒนาสังคม • ขีดความสามารถของพระสงฆ์เพื่อที่จะหนุนเสริมการแก้ไขปัญหาความยากจน/การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ Functional Competency of Monk (FCM) • ความรู้ในหลักเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ FCM1 • ความรู้ในหลักธรรมะที่หนุนเสริมการแก้ไขปัญหาความยากจน FCM2 • ความสามารถในการถ่ายทอดธรรมะ FCM3 • ความสามารถในการประสานงาน FCM4 • ความสามารถในการใช้สื่อเทคโนโลยี FCM5 • ความสามารถในการปรับตัว FCM6 • การวางตนที่เหมาะสมของพระสงฆ์ FCM7 • (วพ. พระฐานี จองเจน ม.แม่โจ้)

  21. ตัวอย่างกลุ่มฮักเมืองน่านตัวอย่างกลุ่มฮักเมืองน่าน บวชป่า สืบชะตาแม่น้ำ

  22. ศูนย์ประสานงานประชาคมจังหวัดน่านก่อตั้ง พ.ศ 2529

  23. เครือข่ายองค์กรชุมชน404 กลุ่ม เมื่อ พ.ศ. 2540รัฐรู้ถึงพลังประชาชน

  24. เครือข่ายอนุรักษ์ป่าให้โอกาสป่าฟื้นตัว3 ปี เห็นผล

  25. เครือข่ายอนุรักษ์ปลากว่า 100 แห่งให้โอกาสปลาแพร่พันธุ์ปลากลับสู่ลำน้ำใน 1 ปี

  26. การระดมความคิดเห็นเพื่อพัฒนาจังหวัดการระดมความคิดเห็นเพื่อพัฒนาจังหวัด

  27. ตัวอย่างการพัฒนาสังคมที่ OITA

  28. การพัฒนาสินค้า OVOP: One Village One Product Movement เมืองโออิตะใช้เวลากว่า 25 ปี โดยดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เกิดจากแนวความคิดที่จะแก้ไขปัญหาความยากจนและการมีงานทำของแม่บ้านเกษตรกร โดยผู้ว่าราชการ นายโมริฮิโกะ ฮิรามัทซึ (Morihiko Hiramatsu) • เนื่องจากเมืองโออิตะ เป็นเมืองที่ชาวญี่ปุ่นมีความรู้สึกว่าเป็นบ้านนอก อยู่ใต้สุดของเกาะกิวชิวใต้ ทำให้เป็นเมืองที่ไม่มีผู้ใดสนใจ • ดังนั้น ชาวเมืองโออิตะมีแนวความคิดที่จะสร้างความน่าสนใจให้แก่บ้านเมืองของตน โดยนำทรัพยากรในพื้นที่บวกกับภูมิปัญญาท้องถิ่น มาพัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่ม • จุดเริ่มต้นก็เหมือนประเทศทั่วไป คือ นำเข้าสินค้าและดูต้นแบบจากต่างประเทศก่อน

  29. จากนั้นก็พัฒนาสินค้า OVOP สร้างมูลค่าเพิ่มเป็นแบรนด์เนมของโออิตะเอง จนเมืองโออิตะกลายเป็นเมืองที่มีชื่อเสียงด้าน OVOP แผ่กระจายไปทั่วโลก ถือเป็น Benchmarking ที่นานาประเทศยอมรับนำไปประยุกต์ใช้ เช่น • เมืองเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีนนำไปทำ One Factory One Product • เมืองเคดะ ประเทศมาเลเซีย : Satu Kampung, Satu Product • เมืองหลุยเซียนา USA : One Parich, One Product • ประเทศเกาหลี ซึ่งมีการพัฒนาอีกระดับจาก Saemaul Undong ผนวกกับ One Village, One Product เป็นต้น • OTOP ของไทย และที่เวียดนาม ลาว มองโกเลีย ฯลฯ

  30. หลักการพัฒนา OVOP ของผู้บริหารเมืองโออิตะ คือ แทนที่จะคำนึงเพียงผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GNP) ให้คำนึงถึงความพอใจมวลรวมประชาชาติด้วย (GNP: Gross National Product to GNS: Gross National Factisfaction) โดยมีแนวคิดพื้นฐานหลัก 3 ประการ (3 Basic Principles) คือ

  31. คิดระดับโลก แต่ทำระดับท้องถิ่น หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สากล (Local to Global)คือ ผลิตสินค้าที่คงกลิ่นสี และวัฒนธรรม ท้องถิ่น ที่สามารถเข้าถึงรสนิยมของผู้บริโภค ทั่วประเทศและทั่วโลก ยิ่งเป็นสินค้าที่มี เอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะถิ่นมากเพียงไร ก็จะ ยิ่งมีชื่อก้องโลกได้เพียงนั้น ดังนั้นการผลิต สินค้ามิใช่เพียงเพื่อสนองความต้องการของ ชุมชนเท่านั้น แต่ต้องคำนึงถึงมาตรฐานใน ระดับประเทศหรือสากลด้วย • เป็นอิสระ พึ่งพาตนเอง และคิดอย่าง สร้างสรรค์ (Self-reliance and Creativity)กล่าว คือ กิจกรรมต่างๆ ต้องมาจากความต้องการ ของคนในชุมชนโดยตรงคือ ประชาชนใน ท้องถิ่นเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะพัฒนาสินค้าใด เข้าร่วมโครงการ (สามารถเลือกได้มากกว่า 1 ชนิด) ส่วนหน่วยงานรัฐมีหน้าที่เพียงให้ การสนับสนุนเทคโนโลยีและการตลาดเท่านั้น ซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้ทำ ให้ OVOP เป็น มากกว่าโครงการเพื่อส่งเสริมการผลิตสินค้า ที่มีลักษณะเฉพาะเท่านั้น แต่ยังครอบคลุม ถึงกระบวนการฟื้นฟูชุมชนด้วย

  32. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development)ซึ่งเป็นเป้าหมาย สูงสุดของ OVOP แรงขับเคลื่อนที่แท้จริงของ การพัฒนาภูมิภาค คือ “มนุษย์” ซึ่งจำเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องมีความกล้าท้าทาย และมี วิสัยทัศน์กว้างไกล จึงจะสามารถเป็นผู้นำ กระบวนการพัฒนาในแต่ละชุมชนได้ อันจะ ทำให้เศรษฐกิจของภูมิภาคพัฒนาไปได้อย่าง อัตโนมัติและเป็นธรรมชาติ ดังนั้น คำว่า “ผลิตภัณฑ์” ไม่ได้หมายถึง “สินค้า” เท่านั้น แต่หมายถึงผลิตผลจากความ สามารถของมนุษย์ ซึ่งสะท้อนถึงการสร้าง ทรัพยากรมนุษย์ด้วย

  33. โดยกำหนดแนวทางแห่งความสำเร็จ 6 ประการ คือ • การสร้างจิตสำนึก Awareness Building • การค้นหามรดกที่มีคุณค่าของท้องถิ่น Identifying of the local Treasure • ความอุตสาหะคือพื้นฐานของพลัง Perseverance is the Base of Power • การสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ Making High value-added products • การสร้างความมั่นคงด้านการตลาด Securing Marketing Channels • การพัฒนาคน Human Resource Development

  34. กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OVOP ของ “โออิตะ” เป็นกระบวนการที่มีลักษณะ เฉพาะตัวและเป็น “การพัฒนาจากภายใน” ซึ่งเป็นกระบวนการที่มีรากเหง้าคือ มิได้ เกิดจากนโยบายรัฐ (ทั้งในระดับชาติและ ภูมิภาค) แต่เกิดจากการริเริ่มและผลักดัน ของคนในชุมชน • การพัฒนาจากภายในของ OVOP คือ การ สร้างอรรถประโยชน์สูงสุดจากทรัพยากรใน ท้องถิ่น เพื่อปรับปรุงมาตรฐานความเป็นอยู่ ของคนในชุมชน โดยยังคงกลิ่นอายของสิ่ง- แวดล้อมทางธรรมชาติ การวัดความเจริญ เติบโตของภูมิภาคได้ถูกปรับเปลี่ยนจากการ คำนึงถึงผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GNP) หรือรายได้ของประชาชนในจังหวัด เป็นความ พอใจมวลรวมประชาชาติ (GNS) หรือ ความ พอใจของประชาชนในจังหวัด

  35. แนวคิดแบบญี่ปุ่น • คิดกว้าง • มองไกล • ใฝ่สูง • ชอบธรรม

  36. คิดแบบญี่ปุ่น • คิดกว้าง คือ อย่าคิดถึงแต่ตัวเอง • มองไกล ก็คือ ต้องมองไปอีก 100 ปีข้างหน้า • ใฝ่สูง ก็คือ ใฝ่ที่จะให้เราอยู่ร่วมกันอย่างร่มเย็นและสันติ • ชอบธรรม คือ มีความถูกต้อง โปร่งใส สุจริต • ที่เกิดปัญหาทุกวันนี้ ก็เพราะคนไทยยัง “คิดแคบ มองใกล้ และ ใฝ่ตํ่า” • คิดแคบ ก็คือ คิดแต่ประโยชน์ของตัวเอง • มองใกล้ ก็คือ มองแต่พวกพ้องของตัวเอง • ใฝ่ตํ่า ก็คือ ใฝ่แต่อยากได้เงินได้ทอง • ไม่มีความชอบธรรม

  37. คิดกว้าง-มองไกล-ใฝ่สูง พาจูงจิตไม่ไหลหลง ทิฏฐิมิเบี่ยงเที่ยงตรง สูงส่งซึ่งธรรมอำไพ เปรียบ...อินทรีทองครองฟ้า เหินสง่าสูงจริงยิ่งใหญ่ ทัศนะเห็นอย่างกว้างไกล ยากไซร้หาเทียบเปรียบปาน

  38. คิดแคบ-มองใกล้-ใฝ่ต่ำ ระส่ำจิตปรุงฟุ้งซ่าน วุ่นวายเวียนวนคนพาล อลหม่านอิดหนาระอาใจ ดุจ...นกกระจอกงอกง่อย มัวคอยคิดปองมองใกล้ จิกตีกันนัวทั่วไป เห็นได้ทุกถิ่นชินตา

More Related