1 / 31

Accounting for cash and Investment

7. Accounting for cash and Investment. เงินลงทุน ( Investment).

eagan-wolf
Download Presentation

Accounting for cash and Investment

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 7 Accounting for cash and Investment

  2. เงินลงทุน (Investment) หมายถึง ทรัพย์สินของกิจการที่ถือไว้เพื่อให้ได้รับประโยชน์ในรูปของรายได้ (เช่น ดอกเบี้ย ค่าสิทธิ เงินปันผล หรือค่าเช่า) หรือกำไรส่วนทุน (Capital Gain) หรือประโยชน์อื่นที่เกิดจากความสัมพันธ์ทางการค้า ยกเว้นรายการต่อไปนี้ไม่ถือเป็นเงินทุน • สินค้าคงเหลือ • ทรัพย์สินถาวร (สินทรัพย์ในกลุ่ม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์)

  3. ประเภทของเงินลงทุน • แบ่งตามระยะเวลาการถือ • เงินลงทุนระยะสั้น (temporary investment) • เงินลงทุนระยะยาว (long-term investment) • แบ่งตามประเภทของเงินลงทุน • ตราสารประเภทหนี้ (debt security) • ตราสารประเภททุน (equities security)

  4. ประเภทของเงินลงทุน (ต่อ) • แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการถือหุ้น • ตราสารประเภทหนี้ • หลักทรัพย์เพื่อค้า (trading security) • หลักทรัพย์เผื่อขาย (available for sales securities) • ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด (hold to maturities securities) • ตราสารประเภททุน • หลักทรัพย์เพื่อค้า • หลักทรัพย์เผื่อขาย • เงินลงทุนในบริษัทร่วม-ย่อย • เงินลงทุนทั่วไป

  5. การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุน - หลักทรัพย์เพื่อค้า@การซื้อหลักทรัพย์ @ จะบันทึกหลักทรัพย์ในบัญชีด้วยราคาทุนทั้งหมด (ราคาหุ้น+ค่าใช้จ่ายในการซื้อ) ตัวอย่าง I/1 1 ม.ค. 44 บริษัทต้นข้าว ซื้อหุ้นสามัญของบริษัทต้นน้ำ ซึ่งกำหนดราคาไว้ในใบหุ้น (Par Value) หุ้นละ 100 บาทจำนวน 100 หุ้น ซื้อมาในราคาหุ้นละ 120 บาทเสียค่านายหน้า 500 บาท ดังนั้น ราคาทุนของหลักทรัพย์นี้จึงเท่ากับ ราคาหลักทรัพย์ = บาท ค่านายหน้า = บาท รวมราคาทุน = บาท 12,000 (120*100) 500 12,500

  6. Dr. หลักทรัพย์-เพื่อค้า (ตราสารทุน) 12,500 Cr. เงินสด (เงินฝากธนาคาร) 12,500 บันทึกการซื้อเงินลงทุนจากบริษัทต้นน้ำ 100 หุ้น (par 100) ในราคาหุ้นละ 120 บาท มีค่าใช้จ่าย 500 บาท

  7. การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุน - หลักทรัพย์เพื่อค้า@การรับผลตอบแทนจากการถือหลักทรัพย์ @ ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ประเภทหนี้ คือ ดอกเบี้ย รับรู้รายได้เมื่อถึงเวลาที่กำหนด และ ตอนสิ้นปีบัญชี ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ประเภททุน คือ เงินปันผล รับรู้รายได้เมื่อบริษัทเจ้าของหุ้นมีการประกาศจ่ายเงินปันผล

  8. (ต่อ) ตัวอย่างI/2 25 ธ.ค. 44 บริษัทต้นน้ำ ประกาศและจ่ายเงินปันผลในอัตรา 5% ต่อหุ้น การบันทึกบัญชีจะเป็นดังนี้ Dr. เงินสด Cr. รายได้เงินปันผล (เงินปันผลรับ) บันทึกรับเงินปันผลจากบริษัทต้นน้ำ 5% ของมูลค่าหุ้น 500 500 (100*100)*5%

  9. ตัวอย่างการซื้อหลักทรัพย์ประเภทหนี้ตัวอย่างการซื้อหลักทรัพย์ประเภทหนี้ ตัวอย่าง I/3 1 มี.ค. 44 บริษัท ขวัญข้าว ซื้อหุ้นกู้ของบริษัท ขวัญใจ จำนวน 100 หุ้น (ราคาที่กำหนดไว้ในใบหุ้นเท่ากับ 100 บาท) ซื้อในราคาหุ้นละ 110 บาท อัตราดอกเบี้ยหุ้นกู้ 12% ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยปีละครั้ง คือทุกวันที่ 1 ก.ย.และ 1 มี.ค. ของทุกปี หุ้นกู้มีกำหนดไถ่ถอน 5 ปี มีค่าใช้จ่ายในการซื้อ 500 บาท การบันทึกบัญชีจะเป็นดังนี้

  10. บันทึกบัญชี (ต่อ) 2544 มี.ค. 1 11,500 11,500 Dr. หลักทรัพย์-เพื่อค้า (ตราสารหนี้) Cr. เงินสด (เงินฝากธนาคาร) บันทึกการซื้อเงินลงทุนของบ. ขวัญใจ 100 หุ้น (face 100) ในราคาหุ้นละ 110 บาท มีค่าใช้จ่าย 500 บาท 2544 ก.ย. 1 600 Dr. เงินสด Cr.ดอกเบี้ยรับ (รายได้ดอกเบี้ย) บันทึกการรับดอกเบี้ยครึ่งปี จาก บ. ขวัญใจ 12% ต่อปี 600 (10,000*12%) /2 หรือ 10,000*6%

  11. การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุน - หลักทรัพย์เพื่อค้า@ การแสดงหลักทรัพย์ ในงบดุล @ • สินทรัพย์จะแสดงในงบดุลด้วย “มูลค่ายุติธรรม” • ณ สิ้นปีบัญชี กิจการจะต้องเปรียบเทียบมูลค่าตามบัญชี กับ มูลค่ายุติธรรม ผลต่างที่เกิดขึ้นเรียกว่า “กำไร-ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น” ตัวอย่าง I/4จากตัวอย่าง I/1 และ I/3 ข้างต้น ถ้า ณ 31 ธ.ค. 44 หุ้นสามัญของบริษัทต้นน้ำมีราคายุติธรรมหุ้นละ 130 บาท และหุ้นกู้ของบริษัท ขวัญใจ ราคาหุ้นละ 100 บาท จะสามารถคำนวณกำไรหรือขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น ได้ดังนี้

  12. การแสดงฯ(ต่อ) 12,500 13,000 • ราคาตามบัญชีของหลักทรัพย์เพื่อค้า-บ.ต้นน้ำ บาท ราคายุติธรรม บาท กำไร-ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น บาท 500 11,500 • ราคาตามบัญชีของหลักทรัพย์เพื่อค้า-ขวัญใจ บาท • ราคายุติธรรม บาท • กำไร-ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น บาท 9,000 (2,500)

  13. การแสดงฯ(ต่อ) R • การบันทึกบัญชี ณ สิ้นปี เพื่อปรับปรุงมูลค่าหลักทรัพย์ จะเป็นดังนี้ • Dr. หลักทรัพย์-เพื่อค้า (ตราสารทุน) 500 Cr. กำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิดขึ้น-เพื่อค้า 500 บันทึกปรับมูลค่าหลักทรัพย์ บ. ต้นน้ำ ให้เป็นมูลค่ายุติธรรม • Dr. กำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิดขึ้น-เพื่อค้า 2,500 Cr. หลักทรัพย์-เพื่อค้า (ตราสารทุน) 2,500 บันทึกปรับมูลค่าหลักทรัพย์ บ. ขวัญใจ ให้เป็นมูลค่ายุติธรรม Exp

  14. การแสดงฯ(ต่อ) • นอกจากจะบันทึกผลต่างฯ ไว้ในบัญชีหลักทรัพย์ฯ แล้ว กิจการอาจเลือกที่จะบันทึกฯ ไว้ในบัญชี “ค่าเผื่อการปรับมูลค่าหลักทรัพย์” ดังนี้ • Dr. ค่าเผื่อการปรับมูลค่าหลักทรัพย์-เพื่อค้า 500 Cr. กำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิด-เพื่อค้า 500 บันทึกปรับมูลค่าหลักทรัพย์ บ. ต้นน้ำ ให้เป็นมูลค่ายุติธรรม • Dr. กำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิด-เพื่อค้า 2,500 Cr. ค่าเผื่อการปรับมูลค่าหลักทรัพย์-เพื่อค้า 2,500 บันทึกปรับมูลค่าหลักทรัพย์ บ. ต้นน้ำ ให้เป็นมูลค่ายุติธรรม A R R A

  15. การแสดงหลักทรัพย์ในงบดุลสำหรับหุ้นของบริษัทต้นข้าวการแสดงหลักทรัพย์ในงบดุลสำหรับหุ้นของบริษัทต้นข้าว บ…….. งบดุล ณ 31 ธันวาคม 25…. สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน …….. …….. หลักทรัพย์-เพื่อค้า (ตราสารทุน) 12,500 บวก ค่าเผื่อการปรับมูลค่าหลักทรัพย์-เพื่อค้า 00500 หลักทรัพย์-เพื่อค้า (สุทธิ) 13,000

  16. การแสดงหลักทรัพย์ในงบดุล หุ้นของขวัญใจการแสดงหลักทรัพย์ในงบดุล หุ้นของขวัญใจ การแสดงหลักทรัพย์ในงบดุลสำหรับหุ้นของบริษัทขวัญใจ บ…….. งบดุล ณ 31 ธันวาคม 25…. สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน …….. …….. หลักทรัพย์-เพื่อค้า (ตราสารทุน) 11,500 หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่าหลักทรัพย์-เพื่อค้า 2,500 หลักทรัพย์-เพื่อค้า (สุทธิ) 9,000

  17. การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุน - หลักทรัพย์เพื่อค้า@ การขายหลักทรัพย์ @ • กิจการจะต้องบันทึกเงินที่ได้รับจากการขาย และผลกำไร/ขาดทุนที่เกิดขึ้น ตัวอย่าง I/5 1 ม.ค. 45 กิจการจำหน่ายหุ้นสามัญของบริษัท ต้นน้ำ ไปทั้งหมดในราคาหุ้นละ 140 บาท มีค่าใช้จ่ายในการขาย 550 บาท และในวันเดียวกัน ได้จำหน่ายหุ้นกู้ของบริษัทขวัญใจ ในราคาหุ้นละ 80 บาท ไปครึ่งหนึ่ง มีค่าใช้จ่าย 200 บาท

  18. บันทึกการขาย (ต่อ) • ราคาขายของหลักทรัพย์ฯ ของ บ. ขวัญใจ จำกัดบาท • หัก ค่าใช้จ่ายในการขาย • ราคาขายสุทธิ (เงินสดที่ได้รับ) • หัก ราคาตามบัญชีของ หลักทรัพย์ บ. ต้นน้ำ จำกัด • ขาดทุนที่เกิดจากการจำหน่ายหลักทรัพย์ฯ บาท 4,500 200 4,300 4,500 200 14,000 550 13,450 ราคาขายของหลักทรัพย์ฯ ของ บ. ต้นน้ำ จำกัดบาท หัก ค่าใช้จ่ายในการขาย ราคาขายสุทธิ (เงินสดที่ได้รับ) หัก ราคาตามบัญชีของ หลักทรัพย์ บ. ต้นน้ำ จำกัด กำไรที่เกิดจากการจำหน่ายหลักทรัพย์ฯ บาท 13,000 450

  19. บันทึกการขาย ของบริษัทต้นข้าว (ต่อ) 13,450 13,000 450 R Dr. เงินสด Cr. หลักทรัพย์-เพื่อค้า (ตราสารทุน) กำไร(ขาดทุน)จากการจำหน่ายหลักทรัพย์ บันทึกการจำหน่ายหลักทรัพย์ บ. ต้นน้ำทั้งหมด ไปหุ้นละ 140 บาท มีค่าใช้จ่าย 550 บาท • ถ้ากิจการบันทึกปรับมูลค่าสิ้นปี ไว้ในบัญชี ค่าเผื่อฯ กิจการต้องบันทึกดังนี้ • Dr. เงินสด • Cr. หลักทรัพย์-เพื่อค้า (ตราสารทุน) • ค่าเผื่อการปรับมูลค่าหลักทรัพย์-เพื่อค้า • กำไร(ขาดทุน)จากการจำหน่ายหลักทรัพย์ • บันทึกการจำหน่ายหลักทรัพย์ บ. ต้นน้ำทั้งหมด ไปหุ้นละ 140 บาท มีค่าใช้จ่าย 550 บาท 13,450 12,500 500 450 R

  20. บันทึกการขาย ของบริษัทขวัญข้าว (ต่อ) 4,300 Dr. เงินสด กำไร(ขาดทุน)จากการจำหน่ายหลักทรัพย์ Cr. หลักทรัพย์-เพื่อค้า (ตราสารทุน) ์ บันทึกการจำหน่ายหลักทรัพย์ บ. ขวัญใจไปหุ้นละ 90 บาท มีค่าใช้จ่าย 200 บาท Exp 200 4,500 • ถ้ากิจการบันทึกปรับมูลค่าสิ้นปี ไว้ในบัญชี ค่าเผื่อฯ กิจการต้องบันทึกดังนี้ • Dr. เงินสด • กำไร(ขาดทุน)จากการจำหน่ายหลักทรัพย์ • ค่าเผื่อการปรับมูลค่าหลักทรัพย์-เพื่อค้า • Cr. หลักทรัพย์-เพื่อค้า (ตราสารทุน) 4,300 Exp 200 1,250 5,750

  21. การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุน - หลักทรัพย์เผื่อขาย • การขายหลักทรัพย์ : บันทึกเหมือนหลักทรัพย์เพื่อค้า • การรับผลตอบแทน : บันทึกเหมือนหลักทรัพย์เพื่อค้า • การแสดงในงบดุล • แสดงด้วยราคายุติธรรม : เหมือนหลักทรัพย์เพื่อค้า • ผลต่างระหว่างราคายุติธรรมกับราคาตามบัญชี (กำไร/ขาดทุน ที่ยังไม่เกิด) จะแสดงไว้ในส่วนของเจ้าของ (กรณีหลักทรัพย์เพื่อค้าจะแสดงไว้ในงบกำไรขาดทุนทันที)

  22. ตัวอย่าง การบันทึกบัญชี-หลักทรัพย์เผื่อขาย ตัวอย่าง I/6 1 มิ.ย. 44 ซื้อหุ้นสามัญ บ. บ้านนาแกลบ จำกัด โดยมีวัตถุประสงค์จะถือไปเรื่อยๆ รอรับเงินปันผล จำนวน 500 หุ้น ซื้อในราคาตามมูลค่า คือหุ้นละ 50 บาท มีค่านายหน้า 1,000 บาท การบันทึกบัญชี เป็นดังนี้ Dr. หลักทรัพย์-เผื่อขาย (ตราสารทุน) 26,000 Cr. เงินสด (เงินฝากธนาคาร) 26,000 บันทึกซื้อหุ้น บ. บ้านนาแกลบ 500 หุ้น (par 50) ซื้อในราคา par 31 ธ.ค. 44 หุ้นของบ. บ้านนาแกลบ จำกัด มีราคายุติธรรมอยู่ที่ หุ้นละ 55 บาท การบันทึกบัญชี เป็นดังนี้ Dr. ค่าเผื่อการปรับมูลค่า-เผื่อขาย 1,500 Cr. กำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิดขึ้น-เผื่อขาย 1,500 บันทึกปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผื่อขาย บ. บ้านนาแกลบ A Eq

  23. การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุน - ตราสารหนี้ที่จะถือ จนครบกำหนด • กิจการตั้งใจจะครอบครองตราสารฯ จนกว่าจะครบกำหนดไถ่ถอนหุ้น • ณ วันไถ่ถอน กิจการจะได้รับเงินเท่ากับจำนวนที่ระบุไว้หน้าตั๋ว (Face Value) • กิจการจะไม่บันทึก กำไร หรือ ขาดทุน จากการไถ่ถอนหุ้น • ปัญหา คือ ????? • ถ้ากิจการซื้อหลักทรัพย์ในราคาที่ต่ำกว่า FV จะทำอย่างไร? • ถ้ากิจการซื้อหลักทรัพย์ในราคาที่สูงกว่า FV จะทำอย่างไร?

  24. ตราสารหนี้ฯ (ต่อ) • เหตุใดจึงมีการขายหลักทรัพย์ในราคาที่ไม่เท่ากับราคาที่กำหนดไว้? - ขายต่ำกว่าราคาที่กำหนดไว้ (ส่วนต่ำกว่ามูลค่า) - ขายสูงกว่าราคาที่กำหนดไว้ (ส่วนเกินกว่ามูลค่า) • แล้วจะจัดการอย่างไรเมื่อเกิดมีส่วนต่ำหรือส่วนเกิน เกิดขึ้น

  25. ตราสารหนี้ฯ (ต่อ) หุ้นของบริษัท A หุ้นของบริษัท B Face Value = 100 Face Value = 100 ราคาขาย A = 90 ราคาขาย B = 100

  26. ตราสารหนี้ฯ (ต่อ) หุ้นของบริษัท A หุ้นของบริษัท B Face Value = 100 Face Value = 100 ราคาขาย A = 100 ราคาขาย B = 110

  27. แล้วจะจัดการอย่างไรเมื่อเกิดมีส่วนต่ำหรือส่วนเกิน เกิดขึ้น - บันทึกปรับส่วนเกิน-ต่ำ นั้นออกให้หมดก่อนที่จะครบกำหนดไถ่ถอน - วิธีการปรับส่วนต่ำ-เกิน # วิธีเส้นตรง # วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ปรับในจำนวนที่เท่ากันทุกปี หาดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายจริงๆ การปรับส่วนเกิน-ต่ำ นั้น จะปรับพร้อมการบันทึกรับดอกเบี้ย

  28. ม.ค. 2542 กิจการซื้อหุ้นกู้ 100,000 บาท จากบริษัทต้นข้าว อัตราดอกเบี้ย 9% กำหนดจ่ายดอกเบี้ยทุกวันที่ 31 ธ.ค. หุ้นกู้อายุ 5 ปี บ. ตั้งใจจะถือจนครบกำหนด (อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงเท่ากับ 11% กิจการจ่ายเงินซื้อหุ้นกู้ในราคา 92,608.10 บาท การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการซื้อหุ้นกู้ เป็นดังนี้ การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการรับดอกเบี้ย และ ปรับบัญชีส่วนต่ำ-เกิน เป็นดังนี้

  29. ตราสารหนี้ฯ (ต่อ) 2542 ม.ค. 1 Dr. หลักทรัพย์-ตราสารหนี้ฯ 92,608.10 Cr. เงินสด 92,608.10 บันทึกการซื้อตราสารหนี้ บ. ต้นข้าว FV 100,000 บาท ในราคา 92,608.10 บาท ดอกเบี้ย 9% effective rate 11% 2542 ธ.ค. 31 Dr. เงินสด 9,000.- หลักทรัพย์-ตราสารหนี้ฯ 1,187 Cr. ดอกเบี้ยรับ 10,187.- บันทึกดอกเบี้ยรับ และปรับส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้นกู้ คำนวณอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

  30. - รวม 45,000 52,392 7,392 ตารางแสดงการคำนวณดอกเบี้ยที่แท้จริง วันที่ เงินสดรับ ดอกเบี้ยรับ ส่วนต่ำตัดบัญชี BV 1/1/42 92,608 31/12/42 9,000 10,187 1,187 93,975 1,317 95,112 31/12/43 9,000 10,317 31/12/44 9,000 10,462 1,462 96,575 31/12/45 9,000 10,623 1,623 96,198 31/12/46 9,000 10,802 1,801 100,000

  31. ??????????????? ...The End

More Related