1 / 54

กรอบแนวคิด

การจัดทำนโยบาย. กรอบแนวคิด. และ แผนยุทธศาสตร์. โดย ผศ.ดร.ธีรยุทธ พึ่งเทียร. ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผนยุทธศาสตร์. การมองไปข้างหน้าอย่างมีเป้าหมาย. คนในอดีต มองอย่างคนมีวิสัยทัศน์. การเปลี่ยนแปลงคืออะไร ?. การเปลี่ยนแปลงในมหาวิทยาลัย. ช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ. ปัจจุบัน. อนาคต.

dysis
Download Presentation

กรอบแนวคิด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำนโยบาย กรอบแนวคิด และแผนยุทธศาสตร์ โดย ผศ.ดร.ธีรยุทธ พึ่งเทียร ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผนยุทธศาสตร์

  2. การมองไปข้างหน้าอย่างมีเป้าหมายการมองไปข้างหน้าอย่างมีเป้าหมาย

  3. คนในอดีต มองอย่างคนมีวิสัยทัศน์

  4. การเปลี่ยนแปลงคืออะไร?การเปลี่ยนแปลงคืออะไร? การเปลี่ยนแปลงในมหาวิทยาลัย ช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ปัจจุบัน อนาคต ไปสู่สิ่งที่ดีกว่า เราต้องคิด เราต้องทำ ความรู้สึกเจ็บปวด อยากเปลี่ยนแปลง

  5. เราทุกคนต้องร่วมกันคิดเราทุกคนต้องร่วมกันคิด ปัจจัยผลักดันการเปลี่ยนแปลง การเจริญเติบโตของมหาวิทยาลัยและวิทยาเขต ความต้องการของบุคลากรทุกภาคส่วน การแข่งขันการศึกษา ความต้องต้องของ ผู้บริหารมหาวิทยาลัย การขยายการศึกษา ทั้งส่วนกลางและวิทยาเขต มหาวิทยาลัย ความเจริญเติบโต ด้านเทคโนโลยี ความอยู่รอดของพระพุทธศาสนา ความต้องการของสังคม และคณะสงฆ์

  6. รางวัลแห่งการคิดการเปลี่ยนแปลงรางวัลแห่งการคิดการเปลี่ยนแปลง เพียงเราเปลี่ยนวิธีคิด เราจะเปลี่ยนความเชื่อ ถ้าเราเปลี่ยนความเชื่อ เราจะเปลี่ยนความคาดหวัง ถ้าเราเปลี่ยนความคาดหวัง เราจะเปลี่ยนทัศนคติ ถ้าเราเปลี่ยนทัศนคติ เราจะเปลี่ยนพฤติกรรม ถ้าเราเปลี่ยนพฤติกรรม เราจะสามารถพัฒนาผลงาน ถ้าเราสามารถพัฒนาผลงาน เราจะสามารถเปลี่ยนชีวิตของเราให้ดีขึ้นได้

  7. มุมมองของแต่ละยุค สะท้อนVisionของแต่ละคน

  8. ความเชื่อมโยงระหว่างแผนกลยุทธ์กรอบวงเงินงบประมาณประจำปี และแผนปฏิบัติการ แผนกลยุทธ์ระยะ 5 ปี กรอบวงเงินงบประมาณประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี

  9. สิ่งที่จะต้องคำนึงในการแปลงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติสิ่งที่จะต้องคำนึงในการแปลงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ 1) แผนกลยุทธ์ 2) กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีของมหาวิทยาลัย 3) กรอบนโยบาย เป้าหมาย ผลผลิต และวงเงินงบประมาณ ของมหาวิทยาลัยที่ได้รับจากรัฐ 4) กรอบนโยบาย เป้าหมาย ผลผลิต และวงเงินงบประมาณ ของวิทยาเขต วิทยาลัย ศูนย์ และห้องเรียนที่มหาวิทยาลัย จัดให้ 5) งาน / โครงการของมหาวิทยาลัยที่แปลงมาจากกลยุทธ์

  10. การแปลงแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติการแปลงแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ทบทวนแผนกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ แผนกลยุทธ์ที่ยืนยัน / ปรับปรุงแล้ว กลยุทธ์ระดับมหาวิทยาลัย งาน / โครงการ กิจกรรม กลยุทธ์ระดับโครงการ

  11. ขั้นตอนการแปลงแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติขั้นตอนการแปลงแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดกรอบวงเงินงบประมาณประจำปีของมหาวิทยาลัย คือการคำนวณงบประมาณประจำปี 1) งบเงินอุดหนุนรายการเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา (รายหัว) 2) งบเงินอุดหนุนรายการเงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานและงบการพัฒนามหาวิทยาลัย 3) งบประมาณอื่น ๆ ที่มหาวิทยาลัยได้รับจัดสรร เช่นงบก่อสร้าง งบบริการสังคม ขั้นตอนที่ 2 การแปลงกลยุทธ์เป็นโครงการ เป็นการนำกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยแต่ละกลยุทธ์มาวิเคราะห์ว่า ถ้าจะดำเนินตามกลยุทธ์นั้น จะต้องจัดทำโครงการอะไรบ้าง ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี คือการนำโครงการที่คัดเลือกแล้วในขั้นตอนที่ 1 มาจัดลำดับความสำคัญ หลอมรวมงบประมาณให้อยู่ภายในวงเงินงบประมาณรวมที่มหาวิทยาลัยได้รับ หลอมรวมกิจกรรม รายละเอียดสาระสำคัญของแผนทั้งหมด

  12. การจัดการงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานการจัดการงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน สำนักงบประมาณ

  13. 1. กรอบแนวคิดการจัดการงบประมาณแนวใหม่ สำนักงบประมาณ

  14. 1.1นโยบายรัฐบาลในการปฏิรูประบบงบประมาณ1.1นโยบายรัฐบาลในการปฏิรูประบบงบประมาณ “เร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดทำและจัดสรรงบประมาณ ให้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ และส่งเสริมให้กระทรวง ทบวง กรม มีบทบาทในการตัดสินใจมากขึ้น พร้อมทั้งจัดให้มีระบบควบคุมตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส” สำนักงบประมาณ

  15. เน้นหลักการธรรมาภิบาลเน้นหลักการธรรมาภิบาล การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละระดับ มีการดำเนินงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้ 1.2องค์ประกอบที่สำคัญของระบบงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ • เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง • ผลผลิตและตัวชี้วัด • การมอบอำนาจการบริหารจัดการงบประมาณ • เน้นให้กระทรวงมีอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จ • การประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF) • การเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ • ระบบการติดตามและประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สำนักงบประมาณ

  16. 1.3ลักษณะของระบบงบประมาณในมิติใหม่1.3ลักษณะของระบบงบประมาณในมิติใหม่ 1. การจัดการงบประมาณโดยมียุทธศาสตร์เป็นตัวนำซึ่งเริ่ม ในปี 2546 โดย • จัดทำบนพื้นฐานของนโยบายและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ • บูรณาการตามยุทธศาสตร์ใน 3 มิติ - กระทรวง (Function) - เรื่องเฉพาะของรัฐบาล (Agenda) - พื้นที่ (Area) 2. จัดงบประมาณให้สามารถรองรับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง (Adaptive Management Budget) • Contingency + Strategy Fund • มีการทบทวนงบประมาณกลางปี สำนักงบประมาณ

  17. การพัฒนามหาวิทยาลัยต้องกำหนดวิสัยทัศน์ในแผนกลยุทธ์การพัฒนามหาวิทยาลัยต้องกำหนดวิสัยทัศน์ในแผนกลยุทธ์ • วิสัยทัศน์คือ ภาพในอนาคตของมหาวิทยาลัย ซึ่งต้องอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง แต่มีความท้าทายในการบรรลุภาพในอนาคต • โดยหัวใจสำคัญของวิสัยทัศน์ เปรียบเสมือนแผนที่นำร่องของมหาวิทยาลัย ในการก้าวไปสู่การจัดทำแผนกลยุทธ์ และเป็นเรื่องยากมากภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและเป้าประสงค์ที่จะให้มหาวิทยาลัย ประสบความสำเร็จในระยะยาว ถ้าขาด วิสัยทัศน์ที่เป็นส่วนผลัดดัน สนับสนุน ของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยหรือองค์กรนั้นๆ

  18. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning) • ทำไมจึงต้องมีการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ? ๑. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของมหาวิทยาลัยเปลี่ยนไป ๒. การบริหารการจัดการภายในมหาวิทยาลัยมีความ ซับซ้อนมากขึ้น ๓. ความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์มี มากขึ้นและมีความจำเป็นมากขึ้น ๔. ภายใต้แรงกดดันของรัฐ และภายใต้การควบคุมดูแลของ สกอ.

  19. กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ สภาวะที่พึงปรารถนา -พันธกิจและหน้าที่ -โครงสร้างมหาวิทยาลัย -แผนงาน/โครงการ -งบประมาณ/บุคลากร วิสัยทัศน์-พันธกิจ-เป้าหมาย สภาวะปัจจุบัน -พันธกิจและหน้าที่ -โครงสร้างองค์กร -แผนงาน / โครงการ -งบประมาณ / บุคลากร การดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ กระบวนการสู่เป้าหมาย -แผนกลยุทธ์ -แผนพัฒาระบบสารสนเทศ -แผนพัฒนาบุคลากร -แผนพัฒนาระบบการจัดการศึกษา การกำหนดยุทธศาสตร์

  20. องค์ประกอบของการวางแผนเชิงกลยุทธ์องค์ประกอบของการวางแผนเชิงกลยุทธ์ • วิสัยทัศน์ (Vision) • พันธกิจ (Mission) • การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม(SWOT) - สภาพแวดล้อมภายใน จุดอ่อน จุดแข็ง - สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส ข้อจำจัด • ยุทธศาสตร์/ แนวทาง (Strategy) • แผนปฏิบัติการ(Action Plan)

  21. ยุทธศาสตร์ ในการดำเนินการการพัฒนามหาวิทยาลัย เพื่อจัดการศึกษา พระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ พัฒนาจิตใจและสังคม มาตรการ / กลยุทธ์ 1. จัดโครงสร้างให้กะทัดรัด คล่องตัว มีเอกภาพในการตัดสินใจมีบทบาทภารกิจที่ชัดเจน วัดผลสำเร็จได้ 2. จัดสรรระบบประมาณให้เป็นงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ 3. สร้างรูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองของกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้บริหารระดับสูงจากประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริง การทำงานเป็นทีม วิธีคิดอย่างเป็นระบบ 4. การจัดการศึกษาให้เอื้อต่อการสร้างกระบวนการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสนับสนุนทางด้านทรัพยากร และกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเชื่อมโยงกับเครื่อข่ายการเรียนรู้ต่างๆ 5. สร้างการมีส่วนร่วมในการแสวงหากระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ทีเอื้อต่อการพัฒนามหาวิทยาลัย

  22. 6. ต้องปลูกจิตสำนึกให้บุคลากรทุกภาคส่วนของมหาวิทยาลัยให้รัก มหาวิทยาลัย 7. พัฒนาส่งเสริมและฟังยอมรับแนวคิดที่หลากหลายในเชิงสร้างสรรค์มหาวิทยาลัย 8. ต้องนำหลักการบริหารจัดการแบบธรรมาภิบาลมาปลูกจิตสำนึกให้ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ทุกระดับยอมรับว่าเป็นระบบที่ดีที่สุดในการบริหารจัดการ

  23. ทบทวนแผนพัฒนามหาวิทยาลัยระยะที่ 10 (2550 -2554)

  24. ยุทธศาสตร์ที่1 การผลิตบัณฑิตและการพัฒนา บุคลากรที่มีความรู้คู่คุณธรรม กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาและขยายโอกาสการศึกษา ฯลฯ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาบัณฑิตและบุคลากร ฯลฯ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลาง การศึกษาพระพุทธศาสนา นานาชาติ

  25. ยุทธศาสตร์ที่ 2พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน มี 4 กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ให้เป็นศูนย์ประสาน และ ทำวิจัยด้านพุทธศาสนา นานาชาติ มี 5 กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริการวิชาการด้านพุทธศาสนาเชิงรุกที่ตอบสนอง ความต้องการของสังคม มี 3 กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การทำนุบำรุงพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมอย่างยั่งยืน มี 3 กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ มี 6 กลยุทธ์

  26. วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนากระบวนการเรียนการสอน เป้าประสงค์ มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ที่หลากหลาย มี คุณภาพได้มาตรฐานสากล ซึ่งตอบสนองความต้องการ ของสังคม คณาจารย์มีความรู้ความชำนาญวิชาการด้าน พระพุทธศาสนา และสังคมศาสตร์ เป็นที่ปรากฏ มี ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและเพียงพอ กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาวิชาการด้าน พระพุทธศาสนาและด้านสังคมศาสตร์ให้มีความ หลากหลาย กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนากระบวนการจัดการศึกษา โดยใช้การประกันคูณ ภาพการศึกษาเป็นกลไกในการดำเนินงาน

  27. กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาการเรียนการสอน แหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการศึกษา ให้มีความทันสมัย เพียงพอต่อ การจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาอาจารย์ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ

  28. วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพ และยกระดับความสามารถในการ ปฏิบัติงานของบุคคลากรทุกระดับ กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุงพัฒนากลไกการบริหารจัดการเพื่อก้าวสู่ความ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 3 ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน กลยุทธ์ที่ 4พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ทางกายภาพเพื่อการบริหาร และการจัดการศึกษา กลยุทธ์ที่ 5ระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัย กลยุทธ์ที่ 6 สร้างมหาวิทยาลัยสู่ความเป็นนานาชาติ

  29. กรอบแนวคิดแนวใหม่ในการจัดทำแผนพัฒนาระยะที่ 11พ.ศ.2555 - 2559 • แผนการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจและวิธีการบริหาร • แผนการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ • แผนการปรับเปลี่ยนระบบบริหารงานบุคคล • แผนการปรับเปลี่ยนกฎข้อบังคับระเบียบที่ล้าหลังไม่เอื้อต่อการพัฒนา • แผนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยมในการทำงาน • แผนนำระบบบริหารแบบธรรมมาภิบาลมาบริหารอย่างเป็นรูปธรรม 7. แผนพัฒนาการศึกษาอย่างครบวงจร ทั้งระบบ

  30. ๑. แผนการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจและวิธีการบริหารงาน มาตรการ • ทบทวนบทบาทภารกิจของหน่วยงานแต่ละหน่วยงาน • สร้างแผนกลยุทธ์ของหน่วยงานแต่ละหน่วยงาน • พัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศส่วนกลางสู่วิทยาเขตและหน่วยงาน • สร้างมาตรฐานการให้บริการต่อสังคม • สร้างระบบประกันคุณภาพการศึกษา • สร้างระบบการประเมินผลการดำเนินงานของส่วนงานและวิทยาเขต • กำหนดบทบาทที่ชัดเจนและภาระงานของบุคลากรทุกระดับชั้น

  31. ๒. แผนปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณการเงินและพัสดุ มาตรการ • พัฒนาระบบงบประมาณที่มุ่งเน้นความโปร่งใส • พัฒนาระบบงบประมาณที่มุ่งเน้นผลงานและผลลัพธ์ • พัฒนาระบบการกระจายอำนาจงบประมาณโดยให้หน่วยงานเป็นผู้รับผิดชอบตามแผนพัฒนาของหน่วยงาน • พัฒนาระบบบัญชีให้เป็นไปตามกฎสำนักงบประมาณและมาตรฐานสากล • พัฒนาระบบจัดทำงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าสำหรับหน่วยงาน นำร่อง • พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการจัดการทางการเงินในระดับส่วนกลาง วิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ์และวิทยบริการ

  32. ๗. ติดตามและการประเมินผลการใช้งบประมาณ เป็นระยะๆ ๘. ให้วิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ์ ศูนย์วิทยบริการ ห้องเรียน และหน่วยงานทุกส่วนงานสรุปรายงานการใช้จ่ายในรอบปีงบประมาณต่อรอง อธิการฝ่ายวางแผนและพัฒนา

  33. เน้นหลักการธรรมาภิบาลเน้นหลักการธรรมาภิบาล การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละระดับ มีการดำเนินงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้ องค์ประกอบที่สำคัญของระบบงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • แนวทางการจัดสรรงบประมาณ • มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับสมอ. • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับมหาวิทยาลัย • ผลผลิตและตัวชี้วัด • การมอบอำนาจการบริหารจัดการงบประมาณ • เน้นการกระจายอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จ • การเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ • ระบบการติดตามและประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สำนักงบประมาณ

  34. ลักษณะของระบบงบประมาณในมิติใหม่ลักษณะของระบบงบประมาณในมิติใหม่ 1. การจัดการงบประมาณโดยมียุทธศาสตร์เป็นตัวนำซึ่งเริ่ม ในปี 2554 โดย • จัดทำบนพื้นฐานของนโยบายและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ • บูรณาการตามยุทธศาสตร์ใน 4 มิติ - กระทรวง (Function) - สมอ. (Agenda) - มหาวิทยาลัยมจร. (MCU) และวิทยาเขต 2. จัดงบประมาณให้สามารถรองรับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง (Adaptive Management Budget) • Contingency + Strategy Fund • มีการทบทวนงบประมาณกลางปี สำนักงบประมาณ

  35. แผนการปรับเปลี่ยนระบบบริหารงานบุคคลแผนการปรับเปลี่ยนระบบบริหารงานบุคคล มาตรการ • พัฒนารูปแบบการเข้าสู่ตำแหน่งและการจ้างงาน • ปฏิรูประบบการจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน • พัฒนาระบบตัวชี้วัดประสิทธิภาพเพื่อการประเมินผลในการทำงาน • กำหนดภาระงานของแต่ละหน่วยงานและกำลังคนให้สอดคล้องกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัย • ปรับปรุงระบบการแต่งตั้งและการพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้มีความเจริญก้าวหน้าและตื่นตัวอยู่เสมอ • ปรับปรุงระบบวินัย • ปรับปรุงระบบการออกจากการทำงานและค่าตอบแทน • ทบทวนบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน

  36. แผนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยมในการทำงานแผนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยมในการทำงาน มาตรการ • จัดทำค่านิยมสร้างสรรค์และจรรยาบรรณบุคลากรของมหาวิทยาลัย • ปรับกระบวนทัศน์บุคคลากรให้มุ่งเน้นผลประโยชน์ของมหาวิทยาลัยและสังคม • ปรับปรุงกระบวนการทำงานและการพัฒนาบุคลิกภาพ • สร้างฐานข้อมูลสู่นวัตกรรมแนวใหม่ในด้านจัดการศึกษาและในด้านการบริหาร • รณรงค์เพื่อลดการทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานทุกหน่วยงาน • การทุจริต การขัดแย้ง การฟ้องร้อง ถือเป็นภัยอย่างร้ายแรงต่อมหาวิทยาลัย • สร้างระบบการปกครองแบบธรรมมาภิบาล

  37. ภารกิจหลักการทำแผนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปี 55-59 • แผนแม่บทการพัฒนามหาวิทยาลัยระยะ 5 ปี • แผนการปฏิบัติการประจำปี • แผนรองรับโครงการกิจกรรมประจำปี • สรุปรายงานแผนการปฏิบัติการประจำปีต่อสภา • มหาวิทยาลัย • สรุปรายงานแผนการปฏิบัติการประจำปีต่อมหา เถรสมาคม

  38. โครงการตามแผนดำเนินงาน แผนกลยุทธ์

  39. ตามนโยบายมหาวิทยาลัย 3. พัฒนมหาวิทยาลัยให้มีระบบการบริหารและการจัดการที่ยึดมั่นในธรรรมาภิบาลที่ตรวจสอบได้ทุกระดับและทุกหน่วยงาน 3.1 พัฒนาระบบการ บริหารการจัดการที่มีธรรมาภิบาลโปร่งใส และมีประสิทธิภาพ มาตรการ 3.1.1 ให้นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหาร การจัดการให้มากที่สุด

  40. เค้าโครง เอกสารแผนปฏิบัติการประจำปี • คำนำ • สารบัญ • ส่วนที่ 1 บทนำ • สภาพปัจจุบันของสถานศึกษา • ส่วนที่ 2 ทิศทางของสถานศึกษา • พันธกิจ • วิสัยทัศน์ • เป้าประสงค์ • กลยุทธ์ • ผลผลิตหลักและตัวชี้วัดความสำเร็จ • ส่วนที่ 3 รายละเอียดของแผนงาน งาน / โครงการ • ภาคผนวก

  41. ทำไมไดโนเสาร์จึงสูญพันธุ์ทำไมไดโนเสาร์จึงสูญพันธุ์

  42. Charles Darwin It is not the strongest of the species that survives, nor the most intelligent that survives. It is the one that is the most adaptable to change. ผู้อยู่รอด ไม่ได้เข้มแข็งหรือฉลาดที่สุด แต่ คือผู้ปรับตัวเก่งที่สุด

  43. สวัสดีครับ

  44. กรอบแนวนโยบายการปฏิบัติตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ๒๕๒๔

  45. พระบรมราโชวาท

  46. เงินของแผ่นดิน คือเงินของประชาชนทั้งชาติ การควบคุมและการ ตรวจสอบเงินแผ่นดิน เป็นสิ่งสำคัญ และจำเป็น เพราะเงินแผ่นดินนั้นคือเงินของประชาชนทั้งชาติ ผู้ทำงานนี้จึงต้องกำหนด แน่แก่ใจ อยู่เป็นนิตย์ที่จะปฏิบัติหน้าที่ในความรับผิดชอบของตนด้วยความวิริยะ อุตสาหพยายามด้วยความชื่อสัตย์ สุจริต และด้วยความละเอียด ถี่ถ้วน ระมัดระวัง อย่างเต็มที่ เพื่อมิให้เกิดความพลั้งพลาดเสียหาย และมั่นใจได้ว่า การใช้จ่ายเงินแผ่นดินได้เป็นไปโดยความบริสุทธิ์และบังเกิดผลเป็นประโยชน์ เต็มเม็ด เต็มหน่วย

  47. ประมาณการเงินรายได้ของมจร. ในปีงบประมาณ 2554(ส่วนกลาง)

More Related