1.05k likes | 1.43k Views
ปํญหาสุขภาพและโรค ที่พบในกระบือโคเนื้อโคนมในเขตสสอ. 4. นายสัตวแพทย์ ดร. สาทิส ผลภาค ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จ.ขอนแก่น drsatis@yahoo.com. แนวคิดการพัฒนางานด้านสุขภาพสัตว์ สาเหตุการเกิดและการแพร่กระจายโรค การแบ่งกลุ่มโรคและลำดับความสำคัญ
E N D
ปํญหาสุขภาพและโรคที่พบในกระบือโคเนื้อโคนมในเขตสสอ. 4 นายสัตวแพทย์ ดร. สาทิส ผลภาค ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จ.ขอนแก่น drsatis@yahoo.com
แนวคิดการพัฒนางานด้านสุขภาพสัตว์แนวคิดการพัฒนางานด้านสุขภาพสัตว์ สาเหตุการเกิดและการแพร่กระจายโรค การแบ่งกลุ่มโรคและลำดับความสำคัญ รายงานการพบโรคต่างๆใน ภาคต/น(ตอนบน) ปัจจัยต่างๆที่ทำให้เกิดโรค รายละเอียดสำคัญของแต่ละโรคที่พบบ่อย อาการ/ กลุ่มอาการสำคัญที่พบในสัตว์ป่วย การขาดแร่ธาตุในโค การเก็บตัวอย่างในสัตว์ป่วย แนวทางการควบคุมและป้องกันโรค หัวข้อในการบรรยาย
แนวคิดการพัฒนางานด้านสุขภาพสัตว์แนวคิดการพัฒนางานด้านสุขภาพสัตว์ มหภาค(Macro_view) ศึกษาจากฐานข้อมูลการผลิตหลายๆด้าน • พิจารณาจากศักยภาพการผลิตปศุสัตว์ในแต่ละพื้นที่จังหวัด • รายได้จากปศุสัตว์เป็นร้อยละเท่าไหร่ของรายได้รวมของครอบครัว • แบ่งตามชนิดสัตว์ จำนวนและการกระจายตัวให้ชัดเจน จำนวนประชากรสัตว์ / รายฟาร์ม / ครอบครัว • เป็นฟาร์มขนาดใหญ่ - กลาง - เล็ก - ย่อย
แบ่งเป็นฟาร์มเอกชนรายใหญ่(ส่งออก) รายย่อย(พอเพียง) สัดส่วน • สภาพภูมิศาสตร์ที่ราบ ที่สูง เส้นทางคมนาคม อุณหภูมิอากาศ ปริมาณน้ำฝน แหล่งน้ำ เขตติดต่อชายแดน • ด้านสังคมศาสตร์ ประเพณี ศาสนา ความเชื่อ การรวมกลุ่ม แหล่งการเรียนรู้ภายในชุมชน • และอื่นๆ.......................................
ด้านจุลภาค(Micro_view) • ปัญหาสุขภาพสัตว์ ขั้นพื้นฐาน โรคระบาด โรคสัตว์ติดคน โรคอุบัติใหม่ รูปแบบการบันทึก ส่งรายงาน • ข้อมูลฐานประชากรปัจจุบัน อัตราการเกิด อัตราการป่วย อัตราการตาย จำแนกตามชนิดสัตว์ • โครงสร้างกลุ่มผลิตสัตว์และเลี้ยงสัตว์ สหกรณ์ และอื่นๆ
ระบบการประสานงานกับองค์กรส่วนท้องถิ่นระบบการประสานงานกับองค์กรส่วนท้องถิ่น • การประชาสัมพันธ์และการให้ความรู้ รูปแบบ ความถี่ เนื้อหา • การให้บริการด้านสุขภาพสัตว์ รูปแบบ ความถี่ เนื้อหา • การสร้างกลุ่มให้เกิดการพึ่งพาตนเอง เรียนรู้ซึ่งกันและกัน
รายชื่อโรคและลำดับความสำคัญของการเกิดโรคในสัตว์ใหญ่รายชื่อโรคและลำดับความสำคัญของการเกิดโรคในสัตว์ใหญ่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
โรคคอบวม(Haemorrhagic septicemia) เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง(เชื้อ Pasteurella multocida) อาการสำคัญของโรค • ซึม หายใจดัง อ้าปากหายใจ ไข้สูง • บวมบริเวณลำคอ และรอบดวงตา • ท้องอืด ลำไส้อักเสบ อุจจาระมีมูกเลือดปน • ตายไว
อาการและวิการสำคัญของโรคอาการและวิการสำคัญของโรค
การเพาะแยกเชื้อพาสเจอเรลล่าและหาชนิดยาต้านเชื้อการเพาะแยกเชื้อพาสเจอเรลล่าและหาชนิดยาต้านเชื้อ
การป้องกันโรค • ฉีดวัคซีนป้องกันโรคปีละครั้ง โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่สัตว์เกิดความเครียดเช่น ต้นฤดูฝน หรือก่อนการเคลื่อนย้ายสัตว์อย่างน้อย 2 อาทิตย์ • ไม่ชำแหละซากสัตว์ที่ตายโดยไม่ทราบสาเหตุแบ่งขาย
การรักษาโรค • ฉีดยาปฎิชีวนะกลุ่ม Oxytetracyclin หรือ Penstep ร่วมกับกลุ่ม Sulfatrimetroprim 3 -5 วันติดต่อกัน • ฉีดยาลดการอักเสบ(Dexamethasone) • ให้สารละลายน้ำเกลือเข้มข้นเข้าเส้น • อื่นๆแล้วแต่อาการที่พบ
โรคปากเท้าเปื่อย • เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอฟเอ็มดี ในประเทศไทยพบ 3 ไทป์คือ โอ เอ เอเชียวัน • อาการสำคัญคือ ไข้ ซึม เบื่ออาหาร น้ำลายไหล เดินกะเผลก พบตุ่มที่ลิ้น ช่องกีบ ไรกีบ
วิการของโรคบริเวณลิ้นและร่องกีบวิการของโรคบริเวณลิ้นและร่องกีบ
การป้องกันโรค • ฉีดวัคซีนป้องกันโรคปีละ 2 ครั้ง ควรต้องครอบคลุมให้ทั่วถึงให้ได้ร้อยละ 80 ประชากรของสัตว์ในแต่ละพื้นที่ • ระมัดระวังการระบาดของเชื้อจากการนำสัตว์ใหม่เข้าฝูงหรือเชื้ออาจติดมากับคน เสื้อผ้า ยานพาหนะที่เข้าออกจากแหล่งโรคระบาด หรือตลาดนัดค้าสัตว์ • ควบคุมการเคลื่อนย้ายสัตว์
Black leg (Clostridium chauvoei)ในโค กระบือ อ.เมือง จ.นครพนม
ข้อสังเกตการเกิดโรคBlack leg (Clostridium chauvoei)ในโค กระบือ • พบพบในโคมากกว่าในกระบือ • อายุน้อยพบมากกว่าอายุมาก • แสดงอาการทางระบบทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร(ท้องอืด) • พบโรคมากในช่วงต้นฤดูฝน มีพายุ • การระบาดเกิดจากการชำแหละซากสัตว์ตายที่ไม่ทราบสาเหตุและแบ่งชิ้นส่วนไปยังบ้านข้างเคียง • สัตว์ไปกินหญ้าบริเวณที่ชำแหละซากสัตว์ • มักพบการระบาดบริเวณพื้นที่ติดชายแดน ตย. เลย นครพนม มุกดาหาร
ตัวอย่างกรณีศึกษาบางโรคในภาคต/นตอนบนตัวอย่างกรณีศึกษาบางโรคในภาคต/นตอนบน โรคพยาธิภายใน ภายในเลือด และอื่นๆ ไว้ใช้รายงานด้านคุณภาพนอกจากปริมาณงาน
อุบัติการณ์การติดเชื้อทริปปาโนโซมในปศุสัตว์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยในปี 2551 มาณวิกา ผลภาค สาทิส ผลภาค* รุ้งสุดา ผูกพัน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ต.ท่าพระ อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40260 *ผู้รับผิดชอบ e-mail : drsatis@yahoo.com
รายงานการพบเชื้อT. evansi (Steel,1985)ในสัตว์ชนิดต่างๆในประเทศไทย • กระบือ • โคนม • โคเนื้อ • ม้า ลา ฬ่อ • สุกร • กวาง • ช้าง • สุนัข
ประวัติการพบเชื้อT. evansiในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • กระบือ (Lohr et al.,1985,1986) • กระบือ โคนม โคเนื้อ ม้า สุนัข (Kasemsant et al.,1989) • โคนม (Kashiwasaki et al.,1998 ; Pholpark et al.,1989)
ตารางที่ 1 จำนวน case ที่ตรวจพบเชื้อ T. evansiแยกตามชนิดสัตว์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนระหว่างปี 2548-2550 * *รายงานประจำปี ศวพ. ขอนแก่น
อาการต่างๆในสัตว์ที่ตรวจพบเชื้อ Trypanosoma evansi • โลหิตจาง เลือดใสเป็นน้ำ • ตัวแข็งหลังแข็ง • บวมตามข้อ ตาอักเสบ • ไข้สูง – ปานกลาง – ต่ำ ไข้ลอย ขึ้น ๆ ลง ๆ (103 – 1080 F) • Low semen quality • แท้งลูกระยะกลาง – ท้าย (มากกว่า 6 เดือน – ใกล้คลอด) Abortion storm*** • อาการทางประสาท ชัก ดุร้าย เดินวน วิ่งชนคอก • โคนม: นมลด กระทันหัน / เรื้อรัง(Acute/Chronic) Trypanosoma evansi อาการชักจากเชื้อขึ้นสมอง
อาการป่วยในสัตว์ชนิดต่างๆอาการป่วยในสัตว์ชนิดต่างๆ
อาการป่วยในสัตว์ชนิดต่างๆ(ต่อ)อาการป่วยในสัตว์ชนิดต่างๆ(ต่อ)
Factors for disease outbreak • Flies density: interupted feeding habbit. • Animal stress: Ploughling season , calving, milking, population density • Species susceptibility : โคนม > โคเนื้อ > กระบือ • Location: Forest area (Comfort Breeding place). Flooding area. • Etc………………………..
ปี 2004 มีรายงานแล้วว่าเป็นโรคที่ติดต่อถึงคนได้ • HUMAN TRYPANOSOMIASIS CAUSED BY TRYPANOSOMA EVANSIIN INDIA: THE FIRST CASE REPORT PRASHANT P. JOSHI, VIJAY R. SHEGOKAR, RAJARAM M. POWAR, STEPHANE HERDER, RAHUL KATTI,HARSHA R. SALKAR, VIBHAWARI S. DANI, ARADHANA BHARGAVA, JEAN JANNIN, AND PHILIPPE TRUC* Am. J. Trop. Med. Hyg., 73(3), 2005, pp. 491–495
วัตถุประสงค์การศึกษา • ศึกษาการกระจายของเชื้อในจังหวัดต่างๆในภูมิภาค • ชนิดสัตว์ที่ตรวจพบเชื้อ • ฤดูกาลที่พบเชื้อ • อาการป่วยจากสัตว์แต่ละชนิดที่ตรวจพบเชื้อ • การเลือกชนิดตัวอย่างในการตรวจหาเชื้อ
วิธีการศึกษา • ทำการศึกษาย้อนหลังโดยรวบรวม case ประวัติสัตว์ป่วยตลอดปี 2551 ที่ตรวจพบเชื้อ T. evansiจากการตรวจตัวอย่างหาเชื้อจากเลือดป้ายสไลด์ อวัยวะป้ายสไลด์ด้วยวิธีการย้อมสียิมซ่าและเลือดในEDTA ตรวจด้วยวิธี Hematocrit centrifugal technique: Woo’s method (Woo,1970) • นำประวัติแต่ละcase มาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ด้วยการจำแนกความถี่ แยกตาม จังหวัด ชนิดสัตว์ ฤดูกาลที่พบเชื้อ อาการป่วย และชนิดตัวอย่างที่ตรวจพบเชื้อ
วิธีการตรวจหาเชื้อพยาธิในเลือดเบื้องต้นวิธีการตรวจหาเชื้อพยาธิในเลือดเบื้องต้น
ตารางที่ 2 การตรวจพบเชื้อT.evansiในแต่ละจังหวัดจำแนกตามชนิดสัตว์ในปี 2551
ตารางที่3 การตรวจพบเชื้อรายเดือนในแต่ละจังหวัด
ตารางที่ 4 ชนิดและจำนวนตัวอย่างที่ตรวจพบเชื้อ T. evansiแยกตามชนิดสัตว์
ตารางที่ 5 อาการต่างๆที่พบจากประวัติสัตว์ที่ตรวจ พบเชื้อ T. evansiแยกตามชนิดสัตว์
ตารางที่ 6 ประเภทฟาร์มและชนิดสัตว์ที่ตรวจพบเชื้อ T. evansi
Blood smear and organ smear ย้อมสียิมซ่า
เลือดป้ายสไลด์จากอวัยวะ(หัวใจ สมอง)Impression(organ) smear
วิดิทัศน์ดูการเคลื่อนไหวของเชื้อ T.evansi & T. theileri
สรุปผลการศึกษา • เชื้อพบได้ในสัตว์ 4 ชนิดคือโคเนื้อ โคนม กระบือ และสุกร • พบเชื้อกระจายทั่วไปในจังหวัดต่างๆในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและบางจังหวัดในภาคต/นตอนล่าง • การติดเชื้อเริ่มจากเดือนกรกฎาคมและพบจำนวนครั้งการติดเชื้อสูงสุดในเดือนกันยายน • พบเชื้อได้ในสัตว์ทั้งที่แสดงและไม่แสดงอาการป่วย • ในสัตว์ที่มีประวัติการตายกระทันหันตรวจพบเชื้อได้ • (Frozen)Organ smear (หัวใจ)เป็น specimen ที่น่าสนใจในการตรวจหาเชื้อชนิดนี้ในสัตว์ที่ตายแล้ว
รายงานเพิ่มเติมในปี 2552 • พบเชื้อแล้วในกวางจากสถานีวิจัยและเพาะพันธุ์สัตว์ป่าเขาเขียว จ.ชัยภูมิ โดยกวางป่วยแสดงอาการทางระบบประสาท • พบเชื้อในโคเนื้อ จ.อุดรธานี จ.กาฬสินธุ์ ไม่มีบันทึกประวัติ • พบโรคเร็วขึ้นกว่าปีที่แล้ว มีนาคม(กวาง)และมิถุนายน(โคเนื้อ) ภาวะโลกร้อน การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม มลภาวะ พาหะนำโรคที่มีจำนวนและปริมาณเพิ่มขึ้น เป็นปัจจัยสำคัญที่เสริมให้มีโอกาสพบเชื้อมากขึ้น
การศึกษาสภาวะโรคพยาธิใบไม้ในตับโค-กระบือใน 10 จังหวัดภาคต/นตอนบนในปี 2551
ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของโคเนื้อที่ตรวจพบไข่พยาธิใบไม้ตับในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบพื้นที่ขอบเขตจังหวัดกับการ ติดพยาธิใบไม้ตับโค-กระบือ