1.42k likes | 1.67k Views
ระบบสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย เสถียร คามีศักดิ์ เจ้าหน้าที่ บุ คคลชำนาญการพิเศษ sathien@swu.ac.th. มติ ครม. 7 มกราคม 2535 เห็นชอบให้ปรับปรุงระบบราชการ ตามสำนักงาน ก.พ. ทันสมัย ไม่เพิ่มส่วนราชการ 2. ระงับการเพิ่มอัตรากำลัง. 3. เกษียณก่อนกำหนด 4. สั้น คล่องตัว
E N D
ระบบสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยระบบสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย เสถียร คามีศักดิ์ เจ้าหน้าที่บุคคลชำนาญการพิเศษ sathien@swu.ac.th
มติ ครม. 7 มกราคม 2535 เห็นชอบให้ปรับปรุงระบบราชการ ตามสำนักงาน ก.พ. • ทันสมัย ไม่เพิ่มส่วนราชการ • 2. ระงับการเพิ่มอัตรากำลัง
3. เกษียณก่อนกำหนด 4. สั้น คล่องตัว 5. ปรับปรุงแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 6. สร้างคุณภาพ คุณธรรม 7. วินัย-จรรยาบรรณ
ปี 2537 -2539 มีการโต้ตอบ ขอหารือ ขอทบทวน กำหนดวิธีการยุบเลิกอัตราเกษียณ 1.มหาวิทยาลัย 2. ทบวง 3. ค.ปร. 4.สำนักงบประมาณ 5.กระทรวงการคลัง
มติ ครม. เมื่อ 17 มิถุนายน 2540 เห็นชอบกำหนดแผนปรับลดขนาดกำลังคน 1.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 2.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
ครม. เมื่อ 19 สิงหาคม 2540 เห็นชอบกับแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ตามเงื่อนไข IMF / ADB
ครม. เมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2541 เห็นชอบกับมาตรการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร โดยยุบเลิกตำแหน่งร้อยละ 80 อีกร้อยละ 20 นำมารวมกันและให้ คปร. จัดสรร
5 เมษายน 2542 ทบวงได้รับจัดสรรงบประมาณหมวดเงินเดือนเท่ากับจำนวนของผู้เกษียณอายุราชการ เพื่อจ้างเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย โดยให้กำหนดวิธีการและการได้รับสิทธิประโยชน์เกื้อกูลและสวัสดิการต่าง ๆ ให้เหมาะสมแต่ละมหาวิทยาลัย ตำแหน่งสาย ก. เพิ่มขึ้นจากอัตราข้าราชการแรกบรรจุ 1.7 เท่า ตำแหน่งสาย ข. สาย ค เพิ่มขึ้นจากอัตราข้าราชการแรกบรรจุ 1.5
มศว. มีคำสั่งจ้างพนักงานคนแรกเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย คือ นางสาวศรีรัฐ ภักดีรณชิต ตำแหน่งอาจารย์ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ อัตราค่าจ้างเดือนละ 12,860 บาท ตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน 2542
ระเบียบฉบับแรก มศว มศว. วางระเบียบฉบับแรกว่าด้วยพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2542 ประกาศใช้เมื่อ 26 ตุลาคม 2543 โดยใช้บังคับชั่วคราว 1 ปี ปัจจุบันปรับปรุงเป็นระเบียบว่าด้วยพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2544 บังคับใช้ 29 ธันวาคม 2544 ถึงปัจจุบัน
ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ มติ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานมหาวิทยาลัย มศว. • ระเบียบว่าด้วยสวัสดิการการศึกษาบุตรบุคลากรของมหาวิทยาลัย 2544 • ข้อบังคับว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มศว.
ประกาศมหาวิทยาลัย จำนวน 10 ฉบับ คือ • 3.1 หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสวัสดิการ ประโยชน์เกื้อกูล พ.ศ. 2545 • 3.2 สวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลและ การศึกษาของบุตร พ.ศ. 2543 • 3.3 หลักเกณฑ์และวิธีการลา
3.4 หลักเกณฑ์และวิธีการบรรจุกลับเนื่องจากไป รับราชการทหาร 3.5 หลักเกณฑ์การพัฒนาพนักงาน พ.ศ. 2545 3.6 การให้พนักงานไปปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มพูน ความรู้และประสบการณ์วิชาการ พ.ศ.2545 3.7 หลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งถอดถอนพนักงานตำแหน่ง ผศ./รศ./ศ.
3.8 หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาการจ้างและบรรจุแต่งตั้ง 3.9 หลักเกณฑ์และวิธีการย้ายพนักงาน 3.10 บัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ
การกำหนดตำแหน่ง (ก) ตำแหน่งวิชาการ (ข) ตำแหน่งสนับสนุนวิชาการ (ค) ตำแหน่งบริหาร
(ก) ตำแหน่งวิชาการ 1. อาจารย์/ ผศ./ รศ./ ศ. 2. ตำแหน่งอื่นที่กำหนด
(ข) ตำแหน่งสนับสนุนวิชาการ (1) ผู้อำนวยการ หัวหน้าฝ่าย หัวหน้าหน่วย (2) เลขานุการคณะ/สำนัก/สถาบัน (3) ตำแหน่งอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริหาร พนักงานกำหนด (ปัจจุบันชื่อตำแหน่งเหมือนข้าราชการ)
(ค) ตำแหน่งบริหาร 1. อธิการบดี 2. รองอธิการบดี/คณบดี/ผอ.สถาบัน/ผอ.สำนัก/ผอ.ศูนย์ 3. ผช.อธิการบดี/รองคณบดี/รอง ผอ. 4. หัวหน้าภาควิชา/หัวหน้าสาขาวิชา/รองหัวหน้าสาขา 5. ตำแหน่งอื่นที่กำหนด
หลักการ ในระยะ 2 ปีแรก ให้ทำสัญญาจ้างปีต่อปี โดยมีการประเมินการปฏิบัติงานทุกปี หากเหมาะสม จะได้รับการต่อสัญญาจ้างเป็นเวลา 3 ปี มีการ ประเมินการปฏิบัติงานทุกปี หากเหมาะสมหลังครบ สัญญาจ้างจะได้รับการบรรจุและแต่งตั้งเป็นพนักงาน ประจำ
การทำสัญญา พนักงานมหาวิทยาลัยทุกคนต้องทำสัญญาตาม แบบที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด แต่ละปีงบประมาณ ตามหนังสือทบวง ที่ ทม 0202.4/6789 ลงวันที่ 14 สิงหาคม 2542 กำหนดให้ใช้วิธีจ้างพนักงานในระบบสัญญาจ้างทดแทนการบรรจุเป็นราชการ (ว.541 ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2542)
หลักประกัน ให้พนักงานมีหลักประกันสัญญาอย่างใด อย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เพื่อประกัน ความเสียหายอันเกิดขึ้นแก่มหาวิทยาลัย เนื่องจากการกระทำ หรืองดเว้นการกระทำ
ในการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษากฏหมายและระเบียบราชการในการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษากฏหมายและระเบียบราชการ ครั้งที่ 3 / 2545 วันที่ 24 ธันวาคม 2545 มีมติกำหนดให้ทำสัญญา 1 ปี หมายความว่า ต้องปฏิบัติงานครบ 12 เดือน หรือ 365 วัน ดังนั้นในระยะ 2 ปีแรก หมายความว่า ต้องปฏิบัติงานครบ 730 วัน หรือ 24 เดือนบริบูรณ์ สรุปคือการต่อสัญญาครั้งต่อไป ให้นับในลักษณะ วันชนวัน
การทำสัญญา 1. วันบรรจุและแต่งตั้งต้องทำสัญญา 1ปีนับวันชนวัน 2. ครบ 1 ปีแรกต้องทำสัญญาต่ออีก 1 ปีนับวันชนวัน 3. ครบ 1 ปีที่สองต้องทำสัญญาต่ออีก 3 ปีนับวันชนวัน 4. ครบ 3 ปีตาม 3 ต้องทำสัญญาจ้าง 5 ปีนับวันชนวัน 5. ครบ 5 ปีตาม 4 ต้องทำสัญญาจ้างทุก ๆ 5 ปีนับวันชนวัน
การจัดทำสัญญา • 1. กรอก แบบฟอร์มตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 2 ชุด • พยาน ต้องเป็นเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ของ • กองการเจ้าหน้าที่ • 3. ผู้ให้สัญญา ต้องเป็นพนักงานประจำ/ชั่วคราว • 4. มหาวิทยาลัย คือ อธิการบดีหรือผู้ที่อธิการบดีมอบหมาย
การทำหนังสือค้ำประกันการทำหนังสือค้ำประกัน • ผู้ค้ำประกันต้องเป็นบุคคล ปัจจุบันไม่ได้กำหนดรายละเอียดแต่ • ยึดแนวของทางราชการคือให้บิดา มารดา บุคคลในครอบครัวเดียวกัน หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป • 2. เอกสารที่ต้องเตรียม พร้อมสำเนาถูกต้องคือ บัตรประจำตัว • การทำหนังสือค้ำประกัน ทำครั้งเดียวที่ยังอยู่ในระบบ ยกเว้นมีการเปลี่ยนตำแหน่ง เปลี่ยนสังกัด
การจัดทำประวัติการรับราชการการจัดทำประวัติการรับราชการ พนักงานต้องจัดทำประวัติการรับราชการ โดยต้องเตรียมสำเนาเอกสารทะเบียนบ้าน ประวัติการศึกษา รูปถ่าย เอกสาร การเปลี่ยนชื่อสกุล ฯลฯ
การจัดทำประวัติการรับราชการการจัดทำประวัติการรับราชการ พนักงานต้องจัดทำประวัติการรับราชการ โดยต้องเตรียมสำเนาเอกสารทะเบียนบ้าน ประวัติการศึกษา รูปถ่าย เอกสาร การเปลี่ยนชื่อสกุล ฯลฯ
ประกาศเรื่องบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของพนักงานประกาศเรื่องบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของพนักงาน 1. พนักงานประจำ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐพนักงานมหาวิทยาลัย 2. วันหมดอายุของบัตรจะเป็นไปตามสัญญาจ้าง 3. รูปถ่าย 2 รูป ไม่เกิน 6 เดือน ขนาด 2.5 x 3.0 ซ.ม. ครึ่งตัว หนัาตรง ไม่สวมหมวก แว่นตาสีเข้ม การแต่งกาย ให้แต่ชุดสากล หรือชุดไทยพระราชทาน หรือชุดปฏิบัติการในวิชาชีพ 4. ผู้มีอำนาจออกบัตร คือ อธิการบดี หรือผู้ที่อธิการบดี มอบหมาย (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2544)
ประกาศเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา การจ้างและบรรจุแต่งตั้งพนักงาน 1. ประกาศรับสมัครไม่น้อยกว่า 7 วันทำการ 2. รายละเอียดของประกาศ (1) ชื่อตำแหน่งและสังกัด (2) อัตราเงินเดือน (3) คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งและคุณสมบัติทั่วไป (4) ข้อกำหนดภาระงาน (5) เงื่อนไขต่างๆ เช่น สัญญา/การค้ำประกัน/สวัสดิการ/ พนักงานประจำ หรือพนักงานชั่วคราว
(ต่อ) (6) หลักเกณฑ์ที่ใช้สมัคร (7) วัน เวลา สถานที่รับสมัคร และสถานที่สอบ (8) หลักเกณฑ์และวิธีการตัดสิน การขึ้นบัญชีและการยกเลิก บัญชี 3. กรรมการสรรหา 3-5 คน โดยให้มีข้าราชการหรือพนักงาน จากส่วนราชการอื่นร่วม เป็นกรรมการอย่างน้อย 1 คน
มติคณะกรรมการบริหารพนักงานครั้งที่ 2/2549 เมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2549 กำหนดการจ้างพนักงาน มีเงื่อนไข • สายวิชาการ ป.เอก • ประกาศ 2 ครั้ง เปลี่ยนเงื่อนไขการบรรจุเป็น ป.โท
ป.โท ต้องมีเงื่อนไข • 3.1 จบ ป.โท ไม่เกิน 2 ปี ไม่มีงานวิจัย ต้อง • 3.2 ภาษาต่างประเทศเป็นภาษาที่ 2 หรือ • 3.3 ภาษาอังกฤษ ต้องมี TOEFL แบบ paper base ไม่น้อยกว่า 520 • 3.4 กรณีจบ ป.โท เกิน 2 ปี ต้องมีผลงานวิจัยที่เป็นส่วนประกอบของวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพดี ถ้าไม่มีงานวิจัยต้อง • 3.5 ภาษาต่างประเทศเป็นภาษาที่ 2 หรือ
3.6 ภาษาอังกฤษ ต้องมี TOEFL แบบ paper baseได้ไม่น้อยกว่า 550 คะแนน 4.( ป.ตรี เฉพาะที่ไม่สามารถหาได้ในสถาบันอุดมศึกษาไทย ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไป ภาษาอังกฤษ TOEFL หรือเทียบเคียงได้ระดับ 550 คะแนน) กรณีภาษาอังกฤษ ต้องผ่านการทดสอบความรู้ตามมาตรฐานของ มศว ภายในระยะเวลา 6 เดือน จึงจะบรรจุ
ประกาศเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการบรรจุกลับเข้าเป็นพนักงานเนื่องจากไปราชการทหารประกาศเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการบรรจุกลับเข้าเป็นพนักงานเนื่องจากไปราชการทหาร 1. ต้องสงวนอัตราของผู้เข้ารับการตรวจเลือก หรือเข้ารับการเตรียมพล2. ขอกลับภายใน 7 วัน/จำเป็นไม่เกิน 15 วัน 3. ไม่เป็นไปตาม 2 หรือสละสิทธิ์
ประกาศเรื่อง กำหนดวันทำงาน เวลาทำงานวันหยุดงาน วันหยุดประจำปี หลักเกณฑ์และวิธีการลาของพนักงาน 1. หัวหน้าส่วนราชการ หรือหัวหน้าส่วนงาน กำหนดและจัดทำประกาศ วันทำงาน เวลาทำงาน วันหยุดตามประเพณี และวันหยุดประจำปี โดยเวลาทำงานสัปดาห์หนึ่งต้องไม่น้อยกว่า 35 ชั่วโมง 2. ปี หมายความว่า ปีงบประมาณ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม ถึง 30 กันยายน โดย 1 ปี เท่ากับ 365 วัน (ต่อ)
การลา 1. การลาป่วย 2. การลาคลอดบุตร 3. การลากิจส่วนตัว 4. การลาพักผ่อน 5. การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์
6. การลาเข้ารับการตรวจเลือก หรือเข้ารับการ เตรียมพล 7. การลาเพื่อพัฒนาพนักงานมหาวิทยาลัย
ลาป่วย 1. ลาเป็นครั้งคราว ตั้งแต่ 3 วัน ขึ้นไปต้องมีใบรับรองแพทย์ 2. ลาเป็นเวลานาน ให้ได้รับค่าจ้างปีงบประมาณละ 120 วัน หากมีเวลาปฏิบัติงานไม่ครบปีงบประมาณ ให้ลาได้ตามสัดส่วน วิธีคิด 365 วัน มีสิทธิลา = 120 จำนวนวันที่ปฏิบัติถึง 30 ก.ย. มิสิทธิลา = 120xจำนวนวัน 365
ลาคลอดบุตร ลาได้ครั้งหนึ่งไม่เกิน 90 วัน ลากิจ 1. ลาในปีงบประมาณหนึ่งไม่เกิน 15 วัน หากมีเวลาปฏิบัติงานไม่ครบปีงบประมาณให้ได้ตามสัดส่วน 2. ลากิจรวมลาป่วย ปีงบประมาณหนื่งไม่เกิน 30 วัน 3. หากมีวันลาเหลือตาม 2 มีสิทธิลากิจเพื่อเลี้ยงบุตรได้ไม่เกิน 30 วัน
วิธีคิด 365 วันมีสิทธิลา = 15 วัน จำนวนวันที่ปฏิบัติถึง 30 ก.ย. มีสิทธิลาเท่ากับ 15 X จำนวนวันที่ปฏิบัติถึง 30 ก.ย 365
ลาพักผ่อน 1. ปฏิบัติงานมาครบ 6 เดือนลาได้ 10 วัน 2. นำวันที่เหลือของปีงบประมาณก่อนมาสะสมในปีงบประมาณถัดมาได้ไม่เกิน 10 วัน ลาอุปสมบท/ไปประกอบพิธีฮัจย์ ปฏิบัติงานครบ 6 เดือนลาได้ 120 วัน
เข้ารับการตรวจเลือก/เข้ารับการเตรียมพลเข้ารับการตรวจเลือก/เข้ารับการเตรียมพล * ลาหยุด เข้ารับการตรวจเลือกรับราชการเป็นทหารกองประจำการ * ลาหยุด เข้ารับการระดมพล หรือทดลองความพรั่งพร้อม
สิทธิขอยกเว้นเข้ารับราชการทหารสิทธิขอยกเว้นเข้ารับราชการทหาร กองประจำการในยามปกติ หนังสือกระทรวกลาโหม ที่ กห.0201/1728 ลงวันที่ 28 กันยายน 2543 1. ระดับมหาวิทยาลัย ทำการสอนประจำ มีนิสิตไม่น้อยกว่า 50 คน 2. ระดับมัธยม ประถม มีชั่วโมงสอนประจำสัปดาห์ละไม่น้อยกว่า 18 ชั่วโมง
ผศ. รศ. ศ. ป.ตรี 9 ปี ป.โท 5 ปี ป.เอก 2 ปี ดำรงตำแหน่ง ผศ. มาแล้ว 3 ปี ดำรงตำแหน่ง รศ. มาแล้ว 2 ปี ประกาศเรื่องคุณสมบัติหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งถอดถอน พนักงาน ตำแหน่ง ผศ. รศ. และ ศ.
ผลการสอน ผศ. รศ. ศ. 1. มีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรมหาวิทยาลัย 2. ผ่านการประเมินผลการสอนได้ผลดีตามความมุ่งหมาย เหมือน ผศ. เหมือน ผศ.
ผลงานทางวิชาการ ผศ. รศ. ศ. 1. เอกสารประกอบการสอน และ 2. บทความ/หนังสือ /ตำรา/ผลงานแปล หรือ 3. งาน หรือ 4. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เทียบค่าได้เท่ากับ 2 หรือ 3 1. เอกสารคำสอน และ 2. หนังสือ/ตำรา/ ผลงานแปล หรือ 3. งานวิจัย หรือ 4. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เทียบค่าได้เท่ากับ 2 หรือ 3 วิธีที่ 1 1.1 หนังสือ/ตำรา และ 1.2 ผลงานวิจัย หรือ 1.3 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เทียบค่าได้เท่ากับ 1.2 วิธีที่ 2 2.1 หนังสือ/ตำรา หรือ 2.2 ผลงานวิจัย หรือ 2.3 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เทียบค่าได้เท่ากับ 2
เกณฑ์การตัดสิน ผศ. รศ. ศ. วิธีปกติ ผลงานต้องมีคุณภาพ ในระดับ ดี ไม่น้อยกว่า ถึ่งหนึ่งของกรรมการผู้อ่าน จำนวน 3 - 5 คน วิธีพิเศษ ผลงานต้องมีคุณภาพในระดับดีมาก อย่างน้อย 4 คน จากกรรมการผู้อ่านจำนวน 5 คน วิธีปกติ เหมือน ผศ. วิธีพิเศษ เหมือน ผศ. วิธีปกติ วิธีที่ 1 ผลงานต้องมีคุณภาพดีมาก วิธีที่ 2 ผลงานต้องมีคุณภาพดีเด่น
การแต่งตั้งถอดถอน ผศ. รศ. ศ. อนุมัติของคณะกรรมการบริหารพนักงานมหาวิทยาลัย และอธิการบดีแต่งตั้ง เหมือน ผศ. อนุมัติของสภา มหาวิทยาลัยและ อธิการบดีแต่งตั้ง
การให้เงินประจำตำแหน่งทางวิชาการการให้เงินประจำตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 3,500 – 5,600 รองศาสตราจารย์ 5,600 – 9,900 ศาสตราจารย์ 13,000 – 15,600 มติคณะกรรมการบริหารพนักงาน ครั้งที่ 6/2549 เมื่อ 28 กันยายน 2548 กำหนดการลาโดยใช้เวลาราชการบางส่วนหมายถึงไปครึ่งเวลา ให้จ่ายเงินประจำตำแหน่งทางวิชาการให้กึ่งหนึ่ง
ประกาศเรื่องหลักเกณฑ์การพัฒนาพนักงาน พ.ศ. 2545 - ศึกษา - ฝึกอบรม - ดูงาน - ปฏิบัติการวิจัย