1 / 142

ดัชนีวัดประสิทธิภาพการผลิตและการสืบพันธุ์ในโคนม

ดัชนีวัดประสิทธิภาพการผลิตและการสืบพันธุ์ในโคนม. อ.น.สพ. วีระศักดิ์ ปัญญาพรวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สื่อการสอนประกอบด้วย. เอกสารประกอบการสอน ( Microsoft word) เรื่อง การทบทวนเอกสารค่าดัชนีวัดประสิทธิภาพการผลิตและการสืบพันธุ์ในโคนม

Download Presentation

ดัชนีวัดประสิทธิภาพการผลิตและการสืบพันธุ์ในโคนม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ดัชนีวัดประสิทธิภาพการผลิตและการสืบพันธุ์ในโคนมดัชนีวัดประสิทธิภาพการผลิตและการสืบพันธุ์ในโคนม อ.น.สพ. วีระศักดิ์ ปัญญาพรวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Disease of ruminants / May 2004

  2. สื่อการสอนประกอบด้วย • เอกสารประกอบการสอน (Microsoft word) เรื่อง การทบทวนเอกสารค่าดัชนีวัดประสิทธิภาพการผลิตและการสืบพันธุ์ในโคนม • เอกสารประกอบการสอน (Microsoft word) เรื่อง ตัวอย่างการคำนวณค่าดัชนีวัดประสิทธิภาพการผลิตและการสืบพันธุ์ในโคนม • สไลด์ประกอบการสอน (Microsoft power point) เรื่อง ดัชนีวัดประสิทธิภาพการผลิตและการสืบพันธุ์ในโคนม Disease of ruminants / May 2004

  3. ความสำคัญ • ใช้ประเมินสถานภาพฟาร์มในปัจจุบัน • ทำนายประสิทธิภาพการผลิตในอนาคต • ใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ผลจากการจัดการที่ผ่านมา Disease of ruminants / May 2004

  4. ข้อควรพิจารณา • ต้องทราบว่าค่าดัชนีนั้นมีความหมายอย่างไร • ทราบวิธีการคำนวณ และ กลุ่มประชากรโคที่ใช้ในการคำนวณ • ทราบถึงข้อดีและข้อจำกัดของค่าดัชนีนั้นๆ • ทราบว่าจะแปรผลร่วมกับค่าดัชนีใด • ทราบถึงการนำค่าดัชนีนั้นไปใช้ประโยชน์และการวางแผน • ทราบถึงวิธีการตรวจสอบค่าดัชนีนั้นๆ ว่ามีความแม่นยำหรือถูกต้องเพียงใด Disease of ruminants / May 2004

  5. ค่าดัชนีเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อผลตอบแทนทางเศรษฐกิจค่าดัชนีเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ • เป้าหมายหลักของการเลี้ยงโคนม คือ การได้รับผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่ดี • รายได้หลักจากการเลี้ยงโคนม คือ ปริมาณน้ำนมที่ผลิตได้ต่อปี • ดังนั้นรายได้ต่อปีหลักจากการเลี้ยงโคนม จะมาจาก ปริมาณน้ำนมที่ผลิตได้ต่อตัวต่อปี x ราคาน้ำนม • ดังนั้นหากต้องการให้มีผลกำไรสูงๆ ต้องมี ปริมาณน้ำนมที่ผลิตได้ต่อปีปริมาณสูง Disease of ruminants / May 2004

  6. ปริมาณน้ำนมต่อตัวต่อปีนั้น จะขึ้นอยู่กับ ปริมาณน้ำนมเฉลี่ยที่ได้ต่อวัน x จำนวนวันที่โคให้นม โดยสัมพันธ์กับ จำนวนโครีดนมในฝูง • ดังนั้น โคที่ให้นมต่อวันปริมาณสูงไม่ได้หมายความว่าจะให้นมทั้งปีปริมาณสูงไปด้วย ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับ ระยะเวลาที่โคให้นมในปีนั้นๆ • เจ้าของฟาร์มมักจะนึกถึงว่า โคให้นมสูงสุดที่กี่กิโลกรัม แต่ไม่ได้นึกถึงว่า ในรอบหนึ่งปีโคตัวนั้นให้ปริมาณน้ำนมต่อปีเท่าใด Disease of ruminants / May 2004

  7. ปริมาณน้ำนมเฉลี่ยต่อตัวต่อวันปริมาณน้ำนมเฉลี่ยต่อตัวต่อวัน • จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้ • พันธุกรรม • การจัดการด้านโภชนาการ • ระยะให้นม Disease of ruminants / May 2004

  8. จำนวนวันที่โคให้นม • จำนวนวันที่โคให้นม หมายถึง จำนวนวันที่ให้นมในช่วงเวลาที่เรากำหนด เช่น ในเดือนมกราคม โคหมายเลข 001 มีวันที่ให้นมจำนวน 20 วัน • ในรอบหนึ่งปีโคแต่ละตัวควรมีระยะวันให้นม 305 วัน Disease of ruminants / May 2004

  9. ค่าดัชนีการสืบพันธุ์มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการผลิตอย่างไรค่าดัชนีการสืบพันธุ์มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการผลิตอย่างไร • จากการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพการผลิตจะมีค่าสูงสุดเมื่อ โคมีระยะห่างการคลอด 12 เดือน โดยมีช่วงเวลาที่ให้น้ำนม 305 วัน และมีระยะแห้งนม 60 วัน • ระยะห่างการคลอดที่สูงเกินไปจะแสดงถึงว่าโคนั้นอยู่ในช่วงท้ายการผลิตนานเกินไป หรือมีระยะหยุดรีดนมที่นานเกินปกติ Disease of ruminants / May 2004

  10. Disease of ruminants / May 2004

  11. Disease of ruminants / May 2004

  12. Lactation Curve Reproduction Regulates life time spent in each phase Net Return $ 3/1 Area of Profit 2/1 Net Return CI 12.1 12.7 13.4 14.1 14.9 15.5 16.0 16.7 17.3 Day In Milk Disease of ruminants / May 2004

  13. แบบมาตราฐาน • โคมีระยะคลอดถึงผสมติด 85 วันหลังคลอด • โคตั้งท้องนาน 280 วัน • ดังนั้นโคมีระยะห่างการคลอด 280+85 = 365 วัน • มีช่วงระยะรีดนม 305 วัน • และมีระยะหยุดแห้งนม 60 วัน Disease of ruminants / May 2004

  14. 280 D D 305 D 85 D 0 D 365 Disease of ruminants / May 2004

  15. ผสมติดช้าแต่ยืดระยะรีดนมออกไปผสมติดช้าแต่ยืดระยะรีดนมออกไป • โคมีระยะคลอดถึงผสมติด 150 วัน • ดังนั้นมีระยะห่างการคลอด = 150+280= 430วัน • ช่วงแห้งนม = 60 วัน • ดังนั้น ช่วงระยะให้นม = 430-60= 370 วัน Disease of ruminants / May 2004

  16. D 280 D 370 D 430 D 0 D 150 Disease of ruminants / May 2004

  17. ผสมติดช้าแต่ให้นม 305 วัน • โคมีระยะคลอดถึงผสมติด 150 วัน • ดังนั้นมีระยะห่างการคลอด 150+280= 430วัน • ช่วงการให้น้ำนม = 305 วัน • ช่วงแห้งนม = 430-305 = 125วัน Disease of ruminants / May 2004

  18. D 280 125 D D 305 D 430 D 0 D 150 Disease of ruminants / May 2004

  19. ความแตกต่างทางเศรษฐกิจความแตกต่างทางเศรษฐกิจ • ระยะคลอดถึงผสมติดที่แตกต่างกัน 150-85 = 65 วัน • เมื่อเวลาผ่านไป 6 ปี จะมีความแตกต่างกัน = 65x6 = 390 วัน • ดังนั้นหมายความว่า โคจะให้นมได้น้อยกว่ากัน 1 lactation • ถ้าโคให้น้ำนม 5,000 กิโลกรัม คิดเป็นเงิน 50,000 บาท ถ้าเลี้ยงโคจำนวน 10 ตัว รายได้จะสูญเสียไป = 500,000 บาท • จะเห็นได้ว่า มาจากความแตกต่างเพียง 65 วัน ในแต่ละท้อง Disease of ruminants / May 2004

  20. ผสมติดช้าแห้งนมไว • ผสมติดที่ 120 วันหลังคลอด • ระยะห่างการคลอด = 120+280 = 400 วัน • ช่วงการให้นม 200 วัน • ดังนั้นระยะแห้งนม = 200 วัน Disease of ruminants / May 2004

  21. พื้นฐานทางสถิติ • ค่าเฉลี่ย • ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน • ค่าส่วนคลาดเคลื่อนมาตราฐาน • พิสัย • เปอร์เซ็นต์ไทล์ • ค่าทางระบาดวิทยา เช่น Odd ration , RR Disease of ruminants / May 2004

  22. คำถาม ???? Disease of ruminants / May 2004

  23. การคำนวณและการแปรผลค่าดัชนีวัดประสิทธิภาพการคำนวณและการแปรผลค่าดัชนีวัดประสิทธิภาพ การผลิตและการสืบพันธุ์โคนม Disease of ruminants / May 2004

  24. ดัชนีวัดประสิทธิภาพการผลิตดัชนีวัดประสิทธิภาพการผลิต • ดัชนีวัดประสิทธิภาพการผลิตน้ำนม • ดัชนีวัดประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ Disease of ruminants / May 2004

  25. ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมดิบดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมดิบ Disease of ruminants / May 2004

  26. เปอร์เซ็นต์วันรีดนมเฉลี่ย(Percents days in milk) Disease of ruminants / May 2004

  27. มีความสัมพันธ์สูงมากกับปริมาณน้ำนมดิบเฉลี่ยของฝูงมีความสัมพันธ์สูงมากกับปริมาณน้ำนมดิบเฉลี่ยของฝูง • การคำนวณค่านี้ ต้องกำหนดช่วงระยะเวลา เช่น เดือนใดเดือนหนึ่ง หรือช่วง 3 เดือน • เป็นค่าที่ใช้วัดประสิทธิภาพการผลิตที่สำคัญ • ค่านี้จะหมายถึงว่า ในช่วงเวลาที่เรากำหนดโคให้ผลผลิตคิดเป็นร้อยละเท่าไร • ค่านี้ควรมีค่า 80-85 เปอร์เซ็นต์ Disease of ruminants / May 2004

  28. ในการวิเคราะห์ต้อง พิจารณาร่วมกับ ค่าเฉลี่ยจำนวนวันให้นม และ ปริมาณน้ำนมเฉลี่ยของฝูง เนื่องจากอาจเกิดกรณี โครีดนมมาเป็น ระยะเวลานานแต่ให้น้ำนมปริมาณต่ำแต่จะแสดงผลว่ามีเปอร์เซ็นต์วันให้นมสูง • โปรแกรมที่ใช้ในประเทศไทยไม่ได้มีการใช้ค่าดัชนีนี้ • แต่เราสามารถนำค่า เปอร์เซ็นต์โคที่รีดนม มาวิเคราะห์ได้ Disease of ruminants / May 2004

  29. PDIM = จำนวนวันที่โคให้นมในช่วงเวลาที่เรากำหนด จำนวนวันของโคทั้งหมดที่อยู่ในฝูง Disease of ruminants / May 2004

  30. การคำนวณ percent day in milk Disease of ruminants / May 2004

  31. Disease of ruminants / May 2004

  32. จากตัวอย่าง โคหมายเลข 1 มีจำนวนวันที่รีดนมในระหว่างเดือน กรกฎาคม-สิงหาคม 2544 จำนวน 29 วัน คือ ระหว่างวันที่ 1 ก.ค. – 30 ก.ค. 2544 ส่วนโคหมายเลข 2 และ หมายเลข 5 มีจำนวนวันรีดนมในช่วงเวลาดังกล่าวจำนวน 60 วัน คือ ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค.-30 ส.ค. 2544 โคหมายเลข 3 ไม่มีจำนวนรีดนมในช่วงเวลาดังกล่าวเนื่องจากแห้งนมตั้งแต่เดือนเมษายน โคหมายเลข 6 มีจำนวนวันรีดนม 41 วัน และโคหมายเลข 7 มีจำนวนวันที่ให้นมเพียง 7 วัน คือ ระหว่างวันที่ 1-8 ก.ค. 2544 Disease of ruminants / May 2004

  33. สรุปได้ว่าโคที่นำมาคิดคำนวณ คือ โคทั้งหมดจากตาราง ซึ่งมีค่าเท่ากับ • ((29+60+59+60+41+7) / (60*7)) *100 ค่าที่ได้ คือ 60.9 % Disease of ruminants / May 2004

  34. การแปรผล โดยปกติในฝูงโคที่มีการคลอดอย่างสม่ำเสมอค่า PDIM นี้จะไม่ต่ำกว่า 80 % หากฟาร์มที่มีค่า PDIM ต่ำกว่า 80 % จะหมายถึงประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมดิบลดลงแต่อย่างไรก็ตามการพิจารณาค่านี้จำเป็นต้องพิจารณาค่า อัตราการให้นมเฉลี่ยต่อตัวต่อวันและค่าระยะวันให้นมเฉลี่ยร่วมด้วย Disease of ruminants / May 2004

  35. เนื่องจากในบางฟาร์มอาจพบกรณีที่ในฟาร์มมีแม่โคที่ได้รีดนมนานเกินกว่า 305 วันจำนวนมากและแม่โคเหล่านั้นมีปริมาณน้ำนมที่ได้ต่อวันต่ำแต่กลับพบว่ามี PDIM ในเปอร์เซ็นต์ที่มีค่าสูง การพบว่า PDIM มีค่าสูงยังสามารถพบได้ในฟาร์มทีมีการคลอดของโคในช่วงเดือนนั้นปริมาณมาก Disease of ruminants / May 2004

  36. จำนวนวันรีดนมเฉลี่ย(Days in milk) Disease of ruminants / May 2004

  37. ประชากรโคที่นำมาคิด คือ โคที่รีดนม เท่านั้น • ต้องทราบค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน • หากสามารถแสดงการกระจายจะแสดงผลได้ชัดเจนมาก เช่น รายงาน Scatter Plot ของโปรแกรม Dairy CHAMP • ค่านี้ใช้แสดงถึงประสิทธิภาพการผลิตได้ชัดเจน และแสดงผลปัจจุบันแต่ไม่แสดงถึงประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ในปัจจุบันได้เลย • ค่า DIM เป็นผลมาจากประสิทธิภาพการสืบพันธุ์เมื่อ 9 เดือนที่ผ่านมาไม่ใช่จากปัจจุบัน Disease of ruminants / May 2004

  38. ค่านี้โดยปกติควรมีค่า 150 วัน • ค่านี้จะลดลงได้เมือ มีโคที่เข้าคลอดจำนวนมาก หรือ มีการแห้งนมโค รวมถึงการแห้งนมโคที่มีระยะรีดมากกว่า 150 วัน • ค่านี้จะมีค่าเพิ่มขึ้น เมื่อมีโครีดนมในช่วงท้ายการรีดนมจำนวนมาก • ค่าเฉลี่ยจะทำให้การแปรผลคลาดเคลื่อนได้มาก ต้องทราบค่าการกระจายของข้อมูลด้วยโดยเฉพาะในฟาร์มโคนมขนาดเล็ก Disease of ruminants / May 2004

  39. จำนวนวันให้นม = วันปัจจุบัน – วันคลอด จำนวนวันให้นมเฉลี่ยของฝูง = ผลรวมจำนวนวันรีดนมของโครีดนมในฝูง จำนวนโครีดนม Disease of ruminants / May 2004

  40. วิธีการคำนวณ • กำหนดวันที่จะคำนวณ เช่น กำหนดวันที่ 1 ธันวาคม 2544 เป็นวันที่คิดคำนวณ • จำนวนโคที่คิดจะมาจาก โคที่รีดนม เท่านั้น • นำวันที่ 1 ธันวาคม 2544 ไปลบกับวันคลอดของโคที่รีดนม จากนั้นรวมผลรวมที่ได้ และหารด้วยจำนวนโคที่รีดนม Disease of ruminants / May 2004

  41. Disease of ruminants / May 2004

  42. โคที่นำมาคำนวณ คือ โคหมายเลข 2 3 4 6 และ 7 เนื่องจากโคเหล่านี้เป็นโคที่รีดนม โดยไม่ต้องมีเงื่อนไขว่าตั้งท้องหรือไม่ • ดังนั้น ค่าระยะรีดนมเฉลี่ย คือ (199+289+27+105+36) / 5 Disease of ruminants / May 2004

  43. การแปรผล • ค่าดัชนีนี้เป็นการวัดประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมดิบที่เป็นปัจจุบันมาก แต่เป็นค่าที่เกี่ยวเนื่องและแสดงถึงประสิทธิภาพการสืบพันธุ์เป็นอดีตมาก • ค่านี้มักจะถูกเข้าใจผิดว่า จะมีความเกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพการสืบพันธุ์มาก Disease of ruminants / May 2004

  44. ระยะวันรีดนมเฉลี่ย จะมีความไว ต่อ การคลอดใหม่ของโค และการแห้งนมของโค • การแห้งนมโคที่ให้นมมาเป็นระยะเวลานาน ก็จะสามารถลดระยะวันรีดนมเฉลี่ยได้ • การที่โคคลอดใหม่นั้น เป็นผลมาจากการจัดการระบบสืบพันธุ์เมื่อ 9 เดือนที่ผ่านมา หรือ เป็นการแสดงผลของประสิทธิภาพการสืบพันธุ์เมื่อ 9 เดือนที่ผ่านมา ไม่ใช่ผลจากปัจจุบันแต่อย่างใด Disease of ruminants / May 2004

  45. นอกจากนี้ การซื้อโคที่ใกล้คลอดเข้าฟาร์มจำนวนมาก เมื่อโคเหล่านั้นคลอด ค่าระยะรีดนมเฉลี่ย ก็จะมีค่าลดลง • โดยสรุป ค่าระยะวันรีดนมเฉลี่ยมีความสัมพันธ์กับปริมาณน้ำนม แต่ ค่าระยะวันรีดนมเฉลี่ย ก็สามารถเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว Disease of ruminants / May 2004

  46. อัตราการให้นมเฉลี่ยต่อตัวต่อวันอัตราการให้นมเฉลี่ยต่อตัวต่อวัน Disease of ruminants / May 2004

  47. การคำนวณ ปริมาณน้ำนมที่ผลิตได้ต่อวัน / จำนวนโครีดนมในวันนั้น • ขึ้นอยู่กับ สายพันธุ์ การจัดการ ภาวะสุขภาพเต้านม แลคเตชัน ระยะวันรีดนม • การแปรผล ต้องให้ความระมัดระวัง เรื่อง จำนวนโคที่นำมาคำนวณ ระยะรีดนมเฉลี่ย Disease of ruminants / May 2004

  48. สัดส่วนประชากรของฝูง Disease of ruminants / May 2004

  49. แบ่งกลุ่มโคออกเป็น กลุ่มโคให้นมตั้งท้อง กลุ่มโคให้นมไม่ตั้งท้อง กลุ่มโคแห้งนมตั้งท้อง กลุ่มโคแห้งนมไม่ตั้งท้อง • โดยปกติมีสัดส่วน เรียงตามลำดับ ดังนี้ 42% 41% 17% และ 0% ตามลำดับ • เป็นค่าที่ใช้บอกภาพรวมของฝูงอย่างง่ายๆ และ รวดเร็ว Disease of ruminants / May 2004

  50. จำนวนวันแห้งนม / ช่วงการให้นม Disease of ruminants / May 2004

More Related