300 likes | 603 Views
สัปดาห์ที่ 6. วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อองค์การ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2553 ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ. การวางแผนระบบสารสนเทศ. 1. การวางแผน IS/IT เชิงกลยุทธ์. ขั้นตอนในการวางแผน IS/IT เชิงกลยุทธ์. ศึกษาแผนกลยุทธ์ขององค์กรและโอกาสที่เกิดจาก IS/IT
E N D
สัปดาห์ที่ 6 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อองค์การ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2553 ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ การวางแผนระบบสารสนเทศ 1
การวางแผนIS/IT เชิงกลยุทธ์
ขั้นตอนในการวางแผน IS/ITเชิงกลยุทธ์ • ศึกษาแผนกลยุทธ์ขององค์กรและโอกาสที่เกิดจากIS/IT • วิเคราะห์ความต้องการและประเมินIS/IT ในปัจจุบัน และกำหนดขอบเขตความต้องการIS/IT • กำหนดสถาปัตยกรรมด้านIS/IT และเลือกกลยุทธ์ด้านIS/IT • พัฒนาแผนด้าน IS/IT และแผนการนำIS/IT ไปใช้งาน
การกำหนดและวิเคราะห์กลยุทธ์IS/ITการกำหนดและวิเคราะห์กลยุทธ์IS/IT 4
การกำหนดกลยุทธ์IS/IT • สภาพแวดล้อมภายในองค์กร เช่น กลยุทธ์องค์กร วัตถุประสงค์ ทรัพยากร กระบวนการ วัฒนธรรม และค่านิยมของบุคลากรในองค์กร • สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร เช่น สภาพเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม สภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรม
การกำหนดกลยุทธ์IS/IT (ต่อ) • สภาพแวดล้อมของIS/IT ภายในองค์กร เช่น วิวัฒนาการของการใช้IS/IT ความเชี่ยวชาญทรัพยากรด้านIS/IT โครงสร้างพื้นฐานของIS/IT ระบบสารสนเทศที่ใช้งานอยู่ และที่อยู่ระหว่างการพัฒนา • สภาพแวดล้อมของIS/ITภายนอกองค์กร เช่น แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศและโอกาสที่จะได้รับจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้IS/IT ของลูกค้า คู่แข่ง และผู้ผลิต
การวิเคราะห์กลยุทธ์IS/ITการวิเคราะห์กลยุทธ์IS/IT • มีวัตถุประสงค์เพื่อ • ประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน • กำหนดความต้องการในอนาคต
การวิเคราะห์กลยุทธ์IS/IT(ต่อ)การวิเคราะห์กลยุทธ์IS/IT(ต่อ) • การประเมินสภาพแวดล้อมทางด้านIS/IT ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน • ประเมินสภาพเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบสารสนเทศ • พิจารณากลยุทธ์นโยบายปัจจุบันและอดีต • การจัดองค์กรของแผนก IS/IT และกระบวนการทำงาน • สินทรัพย์ ทรัพยากร และความเชี่ยวชาญที่มีอยู่ในปัจจุบัน • วิธีการในการพัฒนาระบบและฝึกอบรม • ประเมินทัศนคติของหน่วยงานอื่นๆ ที่มีต่อแผนกIS/IT • ประเมินสภาพแวดล้อมIS/IT ภายนอกองค์กร
เทคนิคในการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการIS/ITเทคนิคในการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการIS/IT • SWOT • Value Chain
การกำหนดความต้องการIS/ITการกำหนดความต้องการIS/IT • ความต้องการIS/IT เกิดจากการประเมินช่องว่างระหว่างสภาพแวดล้อมของIS/IT ปัจจุบันกับIS/IT ที่ต้องการภายในองค์กร • ในการประเมิน ควรพิจารณาเรื่องดังต่อไปนี้ • การปรับกระบวนการทำงาน • ความต้องการข้อมูลใหม่ หรือการปรับข้อมูลให้ทันสมัย • การปรับเปลี่ยนทรัพยากรด้านIT และความรู้ความสามารถของบุคลากร
ความสำคัญของการกำหนดแผนสถาปัตยกรรม IS/IT • วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ทราบลักษณะของสถาปัตยกรรมIS/IT ที่มีอยู่ในปัจจุบัน และที่คาดหวังในอนาคต • เพื่อเป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนสภาพIS/IT ในปัจจุบันให้เป็นสภาพที่ตั้งเป้าหมายไว้ • เพื่อให้สามารถกำหนดแนวทาง หลักเกณฑ์ และทิศทางที่ชัดเจนของIS/IT ที่จะดำเนินการต่อไป • เพื่อวางแผนและแนวทางการลงทุนด้านIS/IT และการควบคุมการลงทุนให้มีทิศทางที่ชัดเจน
องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมIS/ITองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมIS/IT • ผลจากการวางแผนสถาปัตยกรรมด้าน IS/IT จะได้ • สารสนเทศ (I) • ฐานข้อมูล (D) • ระบบประยุกต์ใช้งาน (A) • เทคโนโลยี (T) • โครงสร้างของหน่วยงาน IS/IT (O)
การกำหนดโมเดลหน้าที่งานทางธุรกิจ(Business Function Model) • ไม่ใช่การกำหนดชื่อหน่วยงานขององค์กร • แต่เป็นการกำหนดงานที่องค์กรจะต้องดำเนินงาน • ไม่ใช่การโมเดลหน้าที่งานต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน • แต่เป็นการโมเดลหน้าที่งานต่างๆ ที่ควรจะเป็นของธุรกิจ • เช่น การสำรองที่นั่ง การออกตั๋วเครื่องบิน การชำระเงิน
การกำหนดโมเดลสารสนเทศการกำหนดโมเดลสารสนเทศ • เพื่อให้ทราบถึงสารสนเทศที่ต้องการใช้ และฐานข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ • ต้องอาศัยข้อมูลเหล่านี้ • ข้อมูลจากการวิเคราะห์องค์กร และกลยุทธ์ด้านIS/IT • เป้าหมายและปัญหาขององค์กร • โมเดลงานทางธุรกิจ (business function model)
การกำหนดโมเดลสารสนเทศการกำหนดโมเดลสารสนเทศ • เป็นการกำหนดเอ็นทิตี้ แอททริบิวต์ • การจัดกลุ่มเอ็นทิตี้ต่างๆ เป็นคลาส • การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างเอ็นทิตี้หรือคลาส • การวิเคราะห์คลาสหรือเอ็นทิตี้ที่มีผลกระทบกับเป้าหมาย หรือการแก้ปัญหาขององค์กร • ความสัมพันธ์ของคลาสหรือเอ็นทิตี้กับหน้าที่งานต่างๆ
การกำหนดโมเดลสารสนเทศการกำหนดโมเดลสารสนเทศ • ผลที่ได้ • รายละเอียดของข้อมูลที่ต้องสร้างเป็นข้อมูลที่ถูกเรียกใช้ • เป็นรายละเอียดเพื่อจัดทำสารสนเทศทางธุรกิจที่ต้องการ และทำแผนสถาปัตยกรรมสารสนเทศ
การกำหนดโมเดลสารสนเทศทางธุรกิจการกำหนดโมเดลสารสนเทศทางธุรกิจ • ต้องอาศัยข้อมูลเหล่านี้ • โมเดลงานทางธุรกิจ (business function model) • โมเดลสารสนเทศ • ผลที่ได้คือ สถาปัตยกรรมสารสนเทศขององค์กร (Information Architecture)
การกำหนดโมเดลสารสนเทศทางธุรกิจการกำหนดโมเดลสารสนเทศทางธุรกิจ
การกำหนดสถาปัตยกรรมระบบประยุกต์ใช้งานการกำหนดสถาปัตยกรรมระบบประยุกต์ใช้งาน
การกำหนดสถาปัตยกรรมระบบประยุกต์ใช้งานการกำหนดสถาปัตยกรรมระบบประยุกต์ใช้งาน ฝ่ายวางแผน ตัวแทนจำหน่าย ระบบการวางแผนและนโยบายองค์กร ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์กร ระบบบริหารตัวแทนจำหน่าย ระบบบริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์กร พนง. ฝ่ายการเงิน ฝ่ายการตลาด ระบบการชำระเงิน ระบบลูกค้าสัมพันธ์
การกำหนดสถาปัตยกรรมเทคโนโลยีการกำหนดสถาปัตยกรรมเทคโนโลยี • วัตถุประสงค์เพื่อกำหนดฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ เครือข่ายโทรคมนาคม และสภาพแวดล้อมของเทคนิคโดยรวมสำหรับระบบประยุกต์ใช้งานที่กำหนดขึ้น • รวมถึงการจัดตั้งและหาสถานที่เหมาะสมในการติดตั้งเทคโนโลยีสารสนเทศ และฐานข้อมูล
ขั้นตอนในการกำหนดสถาปัตยกรรมเทคโนโลยีขั้นตอนในการกำหนดสถาปัตยกรรมเทคโนโลยี • ทบทวนหน้าที่งานทางธุรกิจ สารสนเทศ ข้อมูลและระบบประยุกต์ใช้งาน • สำรวจITใหม่สำหรับระบบประยุกต์ใช้งานที่จะพัฒนา • ประเมินสภาพของIT ที่ใช้ในปัจจุบัน • วิเคราะห์ว่าหน้าที่งานและระบบงานที่ต้องการต้องกระจายไปในจุดหรือสถานที่ต่างๆ ขององค์กรหรือไม่
ขั้นตอนในการกำหนดสถาปัตยกรรมเทคโนโลยีขั้นตอนในการกำหนดสถาปัตยกรรมเทคโนโลยี • วิเคราะห์ว่าฐานข้อมูลต้องกระจายไปใช้ตามสถานที่ต่างๆ หรือไม่ • กำหนดความสามารถของIT ตามจุดหรือสถานที่ต่างๆ • เตรียมแผนสถาปัตยกรรมด้านIT และข้อเสนอแนะ
การพิจารณาเลือกIS/IT • ต้องพิจารณาจากประเด็นดังต่อไปนี้ • ระบบใดที่มีความสำคัญในการเลือกลงลงทุนและก่อให้เกิดประโยชน์ • ระบบใดที่สามารถพัฒนาได้จากพื้นฐานทรัพยากรที่มีอยู่ • ระบบใดที่มีแนวโน้มจะทำได้สำเร็จโดยพิจารณาจากความเสี่ยงที่จะต้องพัฒนาให้สำเร็จ
สูง Strategic High Potential Key Operational Support ต่ำ สูง ต่ำ การวิเคราะห์ Application Portfolio ประโยชน์ในอนาคต ประโยชน์ในปัจจุบัน
การประเมินด้วยB-I-R-D • B (Benefit) • ประโยชน์ที่เป็นตัวเงิน (tangible benefits) • ประโยชน์ที่ไม่ใช่ตัวเงิน (intangible benefits) • I (Impact) • ผลกระทบเชิงกลยุทธ์ • ระบบที่ต้องการสามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างไรบ้าง
การประเมินด้วยB-I-R-D • R (Risk) • ระดับของการเปลี่ยนแปลง • ขนาดของโครงการ • โครงสร้างของโครงการ • ความพร้อมและประสบการณ์ทางเทคโนโลยี
การประเมินด้วยB-I-R-D • D (Demand) • ความต้องการของผู้ใช้ • ความต้องการของผู้บริหาร