1 / 40

PHP เบื้องต้น : ตัวแปร ตัวดำเนินการและนิพจน์

PHP เบื้องต้น : ตัวแปร ตัวดำเนินการและนิพจน์. ปัณฑรีย์ สวัสดิมงคล sapantharee@yahoo.com. ตัวแปร ( variable). ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ในหน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร

duman
Download Presentation

PHP เบื้องต้น : ตัวแปร ตัวดำเนินการและนิพจน์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. PHP เบื้องต้น :ตัวแปร ตัวดำเนินการและนิพจน์ ปัณฑรีย์ สวัสดิมงคล sapantharee@yahoo.com

  2. ตัวแปร (variable) • ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ในหน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล • การตั้งชื่อตัวแปร • ชื่อตัวแปรในภาษา PHP จะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย dollar ($) • ตัวอักษรตัวแรกต้องไม่เป็นตัวเลข • การใช้ตัวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่ไม่เหมือนกัน • ไม่ต้องประกาศและกำหนดแบบของข้อมูล(data type) อย่างเจาะจงเหมือนในภาษาซี หรือ ปาสคาล • ตัวแปลภาษาจะจำแนกเองโดยอัตโนมัติว่า ตัวแปรดังกล่าว ใช้ข้อมูลแบบใดในช่วงเวลานั้นๆ PHP Programming

  3. การกำหนดค่าให้ตัวแปร • การกำหนดค่าให้กับตัวแปรจะใช้คำสั่งกำหนดค่า (Assigment Statement) รูปแบบมีดังนี้ $ชื่อตัวแปร = ค่าที่เก็บ ; $mystring = "Hello World!"; $myinteger = 72; $myfloat = 3.14; • การแสดงค่าตัวแปรใช้คำสั่งแสดงผลเช่น echo PHP Programming

  4. ตัวอย่าง var2-0.php <? $test = 10; echo $test; echo "<BR>"; echo "$test <BR>"; echo "แสดงชื่อตัวแปรพร้อมเครื่องหมาย $"; echo "$x".'test'; ?> 1010 แสดงชื่อตัวแปรพร้อมเครื่องหมาย $test PHP Programming

  5. ตัวอย่าง var2-1.php <? $x = 10; $y = $x + 15.5; echo "$x, $y<BR> \n"; $x = "abc"; echo "$x <BR>\n"; $z = $x + 15.5; echo "$x, $z <BR>\n"; echo ("100.5" - 16); echo (0xef + 007); ?> 10, 25.5 abc abc, 15.5 84.5246 PHP Programming

  6. ตัวอย่าง var2-2.php <? // Assign a value of 46 to a variable // called $int_page_nummber. $int_page_number = 46; echo "$int_page_number <br>\n"; // Assign a string value to a variable // called $str_magazine_title. $str_magazine_title = 'PHP is good!'; echo $str_magazine_title; ?> 46 PHP is good! PHP Programming

  7. ตัวอย่างvar2-3.php3 <? // Assign a value of 46 to a variable // called $int_page_nummber. $int_page_number = 46; // Increment the page number variable. $int_page_number = $int_page_number + 1; echo “$int_page_number\n”; ?> 47 PHP Programming

  8. ชนิดของตัวแปรในภาษา PHP • ตัวแปรในภาษา PHP จำแนกได้เป็น 3 ชนิดคือ • Scarlar varible • Array variable • Object variable PHP Programming

  9. Scarlar variable • ตัวแปรสเกลาร์คือตัวแปรที่ใช้เก็บข้อมูล ที่เป็นจำนวนเต็ม (Integer), จำนวนทศนิยม (floating point)หรือ สตริงก์ (String) • Integer :ข้อมูลชนิดเลขจำนวนเต็ม เช่น 1, 10, 100, 123 เป็นต้น • floating-point numbers:ข้อมูลชนิดเลขทศนิยม เช่น 1.10, 1.2e-10 เป็นต้น • Single- quoted String:ข้อมูลตัวอักษรเขียนภายใต้เครื่องหมาย single quote • Double-quoted Stringคือ:ชุดข้อมูลตัวอักษรเขียนภายใต้เครื่องหมาย double quote คล้ายกับ single-quoted string แต่มีความซับซ้อนกว่าโดยเราสามารถใช้เครื่องหมาย \ เพื่อเพิ่ม escape sequence หรือ meta characters ในสตริงก์ PHP Programming

  10. ตัวอย่างcal-1.php <html> <body> <? $b=3; $h=4; $area = (1/2) * $b * $h; echo "<font size=6 face=\"arial\">"; echo "Area is $area<br>"; ?> </body> </html> Area is 6 PHP Programming

  11. ตัวแปรอาร์เรย์ (Array Variables) • ตัวแปรอาร์เรย์ในภาษา PHP เป็นตัวแปรที่ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน ลักษณะการเก็บจะเป็นชุดหรือเป็นแถวเรียงต่อกัน.. การกำหนดตัวแปรแบบอาร์เรย์ในภาษา PHP กำหนดโดยเครื่องหมาย $ นำหน้าชื่อของตัวแปรนั้น • แบบที่ 1 • $arr_zoo[‘perican’] = ‘ Bird with a big beak.’ ; • $arr_zoo[‘cheetah’] = ‘ Fast cat.’ ; • $arr_zoo[‘horse’] = ‘ Four-legged animal.’ ; PHP Programming

  12. แบบที่ 2 $arr_names[] = ‘Mitch’ ; $arr_names[] = ‘Gerry’ ; $arr_names[] = ‘Tim’ ; แบบที่ 3 $key = ‘pelican’ ; $value = $arr_zoo[$key] ; หรือ $value = $arr_zoo[pelican] ; PHP Programming

  13. ตัวอย่าง array-1.php <html> <body> <? $arr[0] = "Red"; $arr[1] = "Green"; $arr[2] = "Blue"; $arr[3] = "White"; echo " $arr[0] , $arr[1] ,$arr[2] ,$arr[3] " ; ?> </body> </html> Red , Green ,Blue ,White PHP Programming

  14. Variable Interpolation หมายถึงการที่ภาษา PHP สามารถที่จะแทนชื่อตัวแปรด้วยค่าที่เก็บภายใต้เครื่องหมาย double-quote เช่น $str_size = “big” ; echo “Jack was a $str_size man.” ; ซึ่งจะได้ผลลัพธ์เป็น Jack was a big man.” แต่ถ้ากำหนดเป็น $str_size = ‘big’ ; echo “Jack was a $str_size man.” ; PHP Programming

  15. Dynamic Variable Names ภาษา PHP อนุญาตให้มีการสร้าง ตัวแปรแบบ dynamic โดยในขณะที่โปรแกรมกำลังรันอยู่ สามารถ สร้างตัวแปรใหม่ได้โดยใช้สัญลักษณ์พิเศษ // store the name of dynamic variable. $scl_dynamic = ‘str_name’ ; // assign a value to the dynamic variable. $$scl_dynamic = ‘John’ ; echo “\$scl_dynamic = $str_name\n” ; ซึ่งจะได้ผลลัพธ์เป็น $scl_dynamic = John PHP Programming

  16. การกำหนดค่าคงที่(Constants) • ในภาษา PHP มีการกำหนดสัญลักษณ์ให้เก็บค่าคงที่ เช่นอาจจะเป็นสตริงก์หรือตัวเลขก็ได้ • กำหนดโดยใช้ คำสั่ง define()สัญลักษณ์ที่กำหนดโดยคำสั่ง define() จะเหมือนกันตัวแปรทั่วๆไปแต่แตกต่างตรงที่ว่า เมื่อนิยามแล้วจะเปลี่ยนแปลงค่าอีกไม่ได้ PHP Programming

  17. ตัวอย่าง const-1.php <HTML> <HEAD> <TITLE>Figure 2-7</TITLE> </HEAD> <BODY> <? define("STANDARD_GREETING", "Hello, World!"); print(STANDARD_GREETING); ?> </BODY> </HTML> Hello, World! PHP Programming

  18. ตัวอย่าง const-2.php <? define(PI, 3.141592654); define(YES, true); define(NO, false); define("AUTHOR", "RWS"); echo (PI/3),"<BR>\n"; echo "AUTHOR=".AUTHOR."<BR>\n"; echo "YES=".YES."<BR>\n"; ?> 1.0471975513333 AUTHOR=RWS YES=1 PHP Programming

  19. การอ่านและแปลงแบบข้อมูลในตัวแปรหรือค่าคงที่แบบเจาะจงการอ่านและแปลงแบบข้อมูลในตัวแปรหรือค่าคงที่แบบเจาะจง เราสามารถแปลงแบบข้อมูลจากแบบหนึ่งไปยังอีกแบบหนึ่ง (type casting) เช่นแปลงจากข้อความที่มีเฉพาะตัวเลขให้กลายเป็นเลขจำนวนเต็ม (int) หรือทศนิยม(double, float, real) หรืออาจจะใช้คำสั่ง settype() PHP Programming

  20. ตัวอย่าง cast-1.php <? $x = 30.2; $y =12.5; $z = $x + $y; echo "z= ".$z. "<BR>"; $x = (integer)$x; $y = (integer)$y; $z = $x + $y ; echo "z= ".$z ; ?> z= 42.7z= 42 PHP Programming

  21. การอ่านแบบข้อมูลของตัวแปรหรือค่าคงที่การอ่านแบบข้อมูลของตัวแปรหรือค่าคงที่ ถ้าต้องการตรวจว่า ตัวแปรมีข้อมูลแบบใด เราสามารถใช้คำสั่ง gettype() ได้ ค่าที่ได้จากฟังก์ชันก็จะเป็น "integer" "double" หรือ "string" เป็นต้น PHP Programming

  22. ตัวอย่าง vartype-1.php <? echo gettype(0),"<BR>"; echo gettype(1.1),"<BR>"; echo gettype(""),"<BR>"; echo gettype((1==1)),"<BR>"; if(gettype("abc")=="string"){ echo "this is string"; } ?> integerdoublestringbooleanthis is string PHP Programming

  23. การใช้ echo เพื่อแสดงตัวแปรเก็บข้อความ การพิมพ์ค่าใดๆที่เก็บอยู่ในตัวแปร ถ้าชื่อของตัวแปรอยู่ในสตริงก์ระหว่างdouble quote เวลาแสดงผลลัพธ์แล้วจะอ่านค่าของตัวแปรนั้นก่อนแล้วจึงแทนที่ลงในข้อความ แต่ถ้านำหน้าด้วยbackslash (\) ก็จะไม่มีการอ่านค่าของตัวแปร เช่น "\$a" จะให้ผลต่างจาก "$a"  PHP Programming

  24. ตัวอย่าง var2-4.php <? $a=1; echo "\$a=$a <BR>\n"; $test = "test"; echo "$test$test$test<BR>\n"; echo $test,$test,$test,"<BR>\n"; $a = 1; $b = 2; echo $a,"+",$b,"=","$a+$b","<BR>\n"; echo $a,"+",$b,"=",$a+$b,"<BR>\n"; ?> $a=1 testtesttest testtesttest 1+2=1+2 1+2=3 PHP Programming

  25. สำหรับข้อความในภาษา PHP เราอาจจะใช้ single qoute แทน double quote ได้แต่เวลาใช้งานร่วมกับ echo หรือ print() จะให้ผลต่างกันซึ่งสังเกตได้จากตัวอย่างต่อไปนี้ <?  $a = "aaa";  $b = 'bbb';  echo "$a  $b<BR>\n";  echo '$a  $b<BR>\n';  ?> ผลลัพธ์คือ aaa bbb $a $b PHP Programming

  26. ตัวดำเนินการ (Operators) • คือสัญลักษณ์ที่จะสั่งให้ PHP ดำเนินการกับตัวเลขหรือข้อความ ตัวดำเนินการบางตัวจะดำเนินการกับตัวที่ถูกกระทำ(operand)เพียงตัวเดียวแต่บางตัวต้องมีตัวถูกกระทำสองตัว PHP Programming

  27. ตัวดำเนินการคณิตศาสตร์ (Arithematic Operations) สัญลักษณ์ ชื่อตัวอย่าง + บวก$a + $b - ลบ$a - $b * คูณ$a * $b / หาร$a / $b % หารเอาเฉพาะเสษ$a % $b PHP Programming

  28. การเพิ่มหรือลดค่าของตัวเลขในตัวแปรทีละหนึ่งการเพิ่มหรือลดค่าของตัวเลขในตัวแปรทีละหนึ่ง • ใช้เครื่องหมาย ++ และ - - เพื่อเพิ่มค่าทีละหนึ่งหรือลดค่าทีละหนึ่ง ดังนี้ $x++ เพิ่มค่าขึ้นอีกหนึ่ง ++$x เพิ่มค่าขึ้นอีกหนึ่ง $x-- ลดค่าลงอีกหนึ่ง --$x ลดค่าลงอีกหนึ่ง • วางไว้ข้างหน้า จะเพิ่มหรือลดค่าตัวแปรก่อนแล้งจึงนำค่าในตัวแปรไปดำเนินการ • วางไว้ข้างหลัง จะนำค่าในตัวแปรไปดำเนินการก่อนแล้วจึงนำตัวแปรไปเพิ่มหรือลด PHP Programming

  29. ตัวดำเนินการสตริงก์ (String Operations) • คือตัวดำเนินการที่ใช้ในการเชื่อมข้อความหลายข้อความให้เป็นข้อความเดียว ภาษา PHP มีตัวดำเนินการสตริงก์เพียงตัวเดียวคือจุด (" . ") ดังตัวอย่างเช่น $a = "Hello !"; $b = $a . "World !" ; // $b จะมีค่าเท่ากับ Hello World ! PHP Programming

  30. ตัวดำเนินการตรรก • เป็นตัวดำเนินการที่ใช้กระทำกับค่าข้อมูลที่มีค่าได้ 2 ค่าคือจริงและเท็จ สัญลักษณ์ของตัวดำเนินการตรรก สัญลักษณ์ ชื่อ ตัวอย่าง($a=T,$b=F) ! Not ! $a = F && And $a && $b = F || Or $a || $b = T and and $a and $b = F or or $a or $b = T xorxor $a xor $b = F PHP Programming

  31. ตัวดำเนินการ Bitwise • เป็นตัวดำเนินการที่ใช้กระทำกับค่าข้อมูลในระดับบิตได้ โดยค่าของข้อมูลที่เก็บเป็นเลขฐานสิบจะเปลี่ยนมาเป็นเลขฐานสอง 2 ค่าคือจริงและเท็จ PHP Programming

  32. ตัวดำเนินการ Bitwise สัญลักษณ์ ชื่อ & Bitwise And | Bitwise Or ~ Bitwise Not ^ Bitwise Xor << Shift left >> Shift right PHP Programming

  33. ตัวดำเนินการเงื่อนไข(Conditional Operators) คือตัวดำเนินการที่ใช้การเปรียบเทียบข้อมูลเพื่อสร้างเงื่อนไข The Ternary Operator • รูปแบบคือ (expr1) ? (expr2) : (expr3) • การนำไปใช้ให้ดูที่ (expr1) เป็นจริงหรือเท็จถ้าเป็นจริง (มีค่ามากกว่า 0) ให้ประมวลผล expr2 แต่ถ้า expr1เป็นเท็จ (มีค่าเป็น 0) ให้ประมวลผล expr3 PHP Programming

  34. ลำดับการทำงานของตัวดำเนินการลำดับการทำงานของตัวดำเนินการ • การบอกให้ทราบว่าเครื่องหมายนี้จะมีวิธีการคิดไปทางขวาหรือทางซ้ายที่แตกต่างกัน เช่น 1 + 5 * 3 คำตอบที่ได้ต้องเป็น 16 ไม่ใช่ 18 ต้องคิดจากซ้ายไปขวา เพราะ (" * ") เป็น Operation ที่เหนือกว่า (" + ") ดังนั้น เวลาที่เราจะคิดเราต้องดูก่อนว่าตัวดำเนินการตัวใดมีลำดับชั้นของ Precedence ต่ำกว่ากัน เพราะเราจะคิดอันที่ต่ำกว่าก่อน PHP Programming

  35. การกำหนดค่าของตัวแปรที่เป็นตัวเลขหรือสตริงก์โดยใช้ assignment operators • การกำหนดค่า (assignment ) หรือเปลี่ยนแปลงค่าให้แก่ตัวแปรจะใช้ตัวดำเนินการกำหนดค่า (assignment operators) ได้ในหลายๆรูปแบบเหมือนอย่างที่ใช้ในภาษาซี PHP Programming

  36. นิพจน์ (Expressions) • คือค่าคงที่ หรือ ตัวแปร หรือการนำเอาค่าคงที่ หรือตัวแปร มาเชื่อมด้วยตัวดำเนินการ • โครงสร้าง PHP เราจะต้อง define ให้นิพจน์เป็น "anything that has a value" PHP Programming

  37. ตัวอย่าง op-1.php <? for ($index = 1; $index <= 100; $index++) { if ($index % 10 == 0) { echo "$index<br>"; } } ?> 102030405060708090100 PHP Programming

  38. คำถามชิงรางวัลข้อที่ 1 • Variables are always preceded by… A.) $B.) &C.) % • ผู้ที่ตอบ.............................. PHP Programming

  39. คำถามชิงรางวัลข้อที่ 2 • Which of the following is not an arithmetic operator? A.) %B.) &C.) * • ผู้ที่ตอบ.............................. PHP Programming

  40. คำถามชิงรางวัลข้อที่ 3 • Using the gettype() function on $x when $x = “4.3″ will return… A.) BooleanB.) IntegerC.) Double • ผู้ที่ตอบ.............................. PHP Programming

More Related