530 likes | 819 Views
แนวทางและหลักเกณฑ์ การจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี ๒๕๕๘- ๒๕๖๐. ความหมายของการวางแผน.
E N D
แนวทางและหลักเกณฑ์ การจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี ๒๕๕๘-๒๕๖๐
ความหมายของการวางแผน • กระบวนการในการบริหารงานให้สำเร็จลุล่วง ตามวัตถุประสงค์และนโยบายที่กำหนดไว้ โดยใช้ปัจจัยต่างๆ ได้แก่ คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ เวลาและการจัดการ มาประสานสัมพันธ์กันอย่างมีระบบเพื่อให้การดำเนินการตามแผนเป็นไปโดยเรียบร้อยสมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด
การวางแผน ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล งบประมาณ จัดซื้อจัดจ้าง เบิกจ่าย • การวางแผนเป็นกิจกรรมขั้นแรกของการบริหารงาน ซึ่งถือเป็นกิจกรรมที่สำคัญที่ทำให้การทำงานบรรลุเป้าหมายขององค์กร
Update Trend Plotting SWOT กำหนดวิสัยทัศน์ Brainstrom ติดตาม/ประเมินผล วิเคราะห์สภาพการณ์ Base map Data Plot trend Overlay tech. กำหนดและจัดลำดับ ประเด็นการพัฒนา ปฏิบัติตามแผน SIG Resources Analysis SWOT Brainstrom แผนปฏิบัติการ ผังพัฒนาพื้นที่ Stakeholder Analysis
ภารกิจ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ปรัชญา ค่านิยม เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย กิจกรรม โครงการ
ยุทธศาสตร์ คือ สิ่งที่องค์กรทำ เพื่อนำไปสู่ความสำเร็จ • ปัจจุบัน เราอยู่จุดไหน...........SWOT • เราต้องการไปสู่จุดไหน.........กำหนดวิสัยทัศน์/ทิศทาง • เราจะไปสู่จุดนั้นได้อย่างไร...ยุทธศาสตร์ • เราจะต้องทำอะไรเพื่อไปถึงจุดนั้น...แปลงยุทธศาสตร์สู่ การปฏิบัติ
ผลผลิต output ผลลัพธ์ outcome ผลกระทบ impact ผลจากการทำงาน
การตรวจสอบการดำเนินงานการบริหารงบประมาณตามแผนพัฒนาท้องถิ่น(หนังสือด่วนที่สุดที่ มท ๐๘๑๐.๒/ว ๒๑๙๙ ลว. ๑๖ ต.ค. ๒๕๕๖) หลักการตรวจของ สตง. ๑. ตรวจตามระเบียบ กฎหมายที่ผู้รับตรวจถือปฏิบัติ ตลอดจนเทคนิควิชาการที่ต้องปฏิบัติ ๒. งานต้องเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัด คุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุด การดำเนินงานต้องได้ตามวัตถุประสงค์ ๓. การดำเนินงานต้องสมเหตุสมผลไม่เลือกปฏิบัติ ๔. การใช้ดุลยพินิจ ต้อง ๔.๑ บนหลักประโยชน์ส่วนรวมอย่างแท้จริง ๔.๒ ต้องไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนหรือผลประโยชน์ขัดกัน ๔.๓ ต้องมีความสมเหตุสมผล พอเหมาะสม และเป็นสากล ไม่เป็นการส่วนตัว ๔.๔ ต้องโปร่งใส มีการบันทึกเป็นหลักฐาน ตรวจสอบได้
การตรวจสอบการดำเนินงานการบริหารงบประมาณตามแผนพัฒนาท้องถิ่น(หนังสือด่วนที่สุดที่ มท ๐๘๑๐.๒/ว ๒๑๙๙ ลว. ๑๖ ต.ค. ๒๕๕๖) ๑.การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ แนวทางที่เกี่ยวข้อง (๑) ไม่จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (๒) จัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาไม่ถูกต้อง - ไม่กำหนดจุดมุ่งหมายการพัฒนา - ไม่กำหนดตัวชี้วัดในระดับต่าง ๆ - ไม่กำหนดโครงการพัฒนา (๓) ไม่จำแนกโครงการเกินศักยภาพ (๔) ไม่ส่งบัญชีโครงการเกินศักยภาพให้ คกก.ประสานแผนฯระดับอำเภอ
การตรวจสอบการดำเนินงานการบริหารงบประมาณตามแผนพัฒนาท้องถิ่น(หนังสือด่วนที่สุดที่ มท ๐๘๑๐.๒/ว ๒๑๙๙ ลว. ๑๖ ต.ค. ๒๕๕๖) (๕) ไม่กำหนดรูปแบบและวิธีการประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (๖) อำเภอไม่ได้แต่งตั้ง คกก.ประสานแผนระดับอำเภอ (๗) ไม่ได้จัดส่งบัญชีโครงการเกินศักยภาพให้ คกก.ประสานแผนระดับจังหวัด
การตรวจสอบการดำเนินงานการบริหารงบประมาณตามแผนพัฒนาท้องถิ่น(หนังสือด่วนที่สุดที่ มท ๐๘๑๐.๒/ว ๒๑๙๙ ลว. ๑๖ ต.ค. ๒๕๕๖) ๒. การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ไม่เป็นไปตามแนวทางที่เกี่ยวข้อง (๑) ไม่จัดทำรายงานการประเมินผล (๒) ประเมินผลแผนพัฒนาไม่ถูกต้อง (๓) ไม่นำ e-plan มาใช้ประโยชน์ และ บันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วนและ เป็นปัจจุบัน
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐) (หนังสือด่วนที่สุดที่ มท ๐๘๓๐.๒/ว ๔๘๓๐ ลว. ๒๒ พ.ย. ๒๕๕๖) ๑. การกำหนดห้วงเวลาการจัดทำให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด และแผนชุมชน ๒. อบจ. จัดทำหรือทบทวน “ยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท.ในจังหวัด” และ อปท.จัดทำหรือทบทวน “ยุทธศาสตร์การพัฒนา” ๓. ความสอดคล้องของแผนพัฒนาท้องถิ่น กับ ยุทธศาสตร์การพัฒนา แผน และข้อมูลระดับต่าง ๆ ประกอบกับการพิจารณาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม/สุขภาพ(แบบ ยท.๐๑)
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐) (หนังสือด่วนที่สุดที่ มท ๐๘๓๐.๒/ว ๔๘๓๐ ลว. ๒๒ พ.ย. ๒๕๕๖) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ยุทธศาสตร์/นโยบายระดับชาติ ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคม ASEAN ๓ เสาหลัก Country Strategies ๔ ด้าน ยุทธศาสตร์การ พัฒนากลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อความมั่นคงของชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด นโยบาย อปท. บริบท ภูมิสังคม ยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท.ใน จว. ผังพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ผังเมืองรวม แผนพัฒนาท้องถิ่น แผนหมู่บ้าน/ชุมชนระดับตำบล ปัญหาความต้องการของ ปชช. แผนหมู่บ้าน/ชุมชน แผนหมู่บ้าน/ชุมชน แผนหมู่บ้าน/ชุมชน
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐) (หนังสือด่วนที่สุดที่ มท ๐๘๓๐.๒/ว ๔๘๓๐ ลว. ๒๒ พ.ย. ๒๕๕๖) ๔. ส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน - แผนหมู่บ้าน/ชุมชน - การจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการจัดทำแผน - ที่ มท ๐๔๐๕.๖/ว ๔๒๒๒ ลว. ๑๖ ต.ค. ๒๕๕๖ (พช.) - ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๘๑๐.๒/ว ๔๔๑๓ ลว. ๓๐ ต.ค. ๒๕๕๖ (สถ.) - ดำเนินการให้ครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชน
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐) (หนังสือด่วนที่สุดที่ มท ๐๘๓๐.๒/ว ๔๘๓๐ ลว. ๒๒ พ.ย. ๒๕๕๖) ๕. ให้ อบจ.รวบรวมข้อพื้นฐานของ อปท.ใน จว. และข้อมูลของหน่วยงานอื่นที่จำเป็น อปท. ต้องจัดส่งให้ อบจ. ๑) ข้อมูลพื้นฐาน ๒) ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานที่ใช้ในการจัดทำแผน อปท. ๓) แผนยุทธศาสตร์ ๔) แผนพัฒนาสามปี ๕) งบประมาณรายจ่ายประจำปี ๖) แผนดำเนินงาน ๗) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐) (หนังสือด่วนที่สุดที่ มท ๐๘๓๐.๒/ว ๔๘๓๐ ลว. ๒๒ พ.ย. ๒๕๕๖) ๖. การคำนึงถึงยุทธศาสตร์การพัฒนาตามสภาพพื้นที่ - ภาคเหนือตอนล่าง ๒ (นครสวรรค์ / กำแพงเพชร / พิจิตร /อุทัยธานี ) พัฒนาข้าวและผลิตภัณฑ์แปรรูปการเกษตรอย่างครบวงจร สร้างมูลค่าเพิ่มจากผลผลิตและวัสดุทางการเกษตร พัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้า พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีความโดดเด่น และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม........................
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐) (หนังสือด่วนที่สุดที่ มท ๐๘๓๐.๒/ว ๔๘๓๐ ลว. ๒๒ พ.ย. ๒๕๕๖) ๗. ให้ อปท. นำโครงการพัฒนาในปีแรกของแผนพัฒนาสามปี ไปเป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี หาก อปท. มีความจำเป็นที่จะต้องนำโครงการที่ไม่ได้ระบุไว้ในแผนพัฒนาปีแรก ให้เพิ่มเติม และเปลี่ยนแปลงได้ตามความจำเป็น (ต้องแสดงเหตุผลความจำเป็นและรายละเอียดประกอบ) ๘) การประสานโครงการพัฒนาของ อปท. ให้จัดทำและใช้บัญชีประสานโครงการพัฒนาของ อปท.กับหน่วยงานอื่น (แบบ ผ.๐๒)
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐) (หนังสือด่วนที่สุดที่ มท ๐๘๓๐.๒/ว ๔๘๓๐ ลว. ๒๒ พ.ย. ๒๕๕๖) ๙. อปท.ประเมินประสิทธิภาพของแผนยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาสามปี และบรรจุในภาคผนวกของเอกสารแผน สนับสนุนข้อมูลฯ คกก.สนับสนุนฯ จัดทำร่างแผนฯ คกก.ติดตามฯ ทำความเข้าใจเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพแผนฯ คกก.พัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนฯ คกก.ติดตามฯประเมินประสิทธิภาพของแผนฯ นายก อปท.อนุมัติแผนฯ
ปฏิทิน การจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี คกก.พัฒนา อบจ.ร่วมกับ คกก.ประสานแผนฯระดับจังหวัด และประชาคม กำหนดทิศทางดำเนินงานในภาพรวมของ อปท. ที่สอดคล้องกับ ยศ.จว. อบจ. ขั้นตอนที่ 1 ธ.ค.๕๖-ม.ค.๕๗ ขั้นตอนที่ 2 ภายใน ๓๑ ม.ค.๕๗ - จัดทำกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท. - แจ้งกรอบฯไปยัง คกก.ประสานแผนฯ ระดับอำเภอ คกก.ประสานแผนฯ ระดับจังหหวัด ขั้นตอนที่ 3 ภายใน ก.พ.๕๗ แจ้งกรอบยุทธศาสตร์ฯ ไปยัง อปท. คกก.ประสานแผนฯ ระดับอำเภอ
ขั้นตอนที่ ๔ ภายใน ก.พ.๕๗ คกก.พัฒนาท้องถิ่น กำหนดประเด็นพัฒนา อปท.. • ท./อบต. นำข้อมูลที่ได้ร่วมประชาคม เพื่อทบทวนแผนชุมชน/หมู่บ้านมาพิจารณาเพื่อกำหนดประเด็นการพัฒนา หรือ • จัดประชาคมท้องถิ่น สำรวจปัญหาและความต้องการของประชาชน มาพิจารณาเพื่อกำหนหดประเด็นการพัฒนา เทศบาล อบต. นำข้อมูลจากประชาคมตามขั้นตอนที่ ๑ มาเพื่อพิจารณากำหนดประเด็นการพัฒนา อบจ.
ปฏิทิน การจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี จัดเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น เทศบาล อบต.. ขั้นตอนที่ ๕ ม.ค.-ก.พ.๕๗ คัดเลือกโครงการสำหรับประสานโครงการเพื่อขอบรรจุในแผนพัฒนาสามปีของ อบจ. โดยจัดทำบัญชีประสานโครงการพัฒนาฯเพื่อเสนอ คกก.ประสานแผนฯอำเภอ ซึ่งจัดทำตามหลักเกณฑ์ที่ คกก.ประสานแผนฯระดับจังหวัดกำหนด ขั้นตอนที่ ๖ ภายใน มี.ค.๕๗ ประชุมพิจารณาบูรณาการโครงการจากขั้นตอนที่ ๖ เพื่อจัดลำดับความสำคัญ และจัดทำบัญชีโครงการเพื่อประสานแผนพัฒนา เพื่อเสนอ คกก.ประสานแผนระดับจังหวัด ขั้นตอนที่ ๗ ภายใน มี.ค.๕๗ คกก.ประสานแผนฯ ระดับอำเภอ ขั้นตอนที่ ๘ ภายใน เม.ย.๕๗ คกก.ประสานแผนฯ ระดับจังหวัด ประชุมพิจารณาบูรณาการโครงการจากขั้นตอนที่ ๗ และนำเสนอบรรจุในแผนพัฒนาสามปีของ อบจ. พร้อมแจ้งให้ อปท.ที่เกี่ยวข้องทราบ
ขั้นตอนที่ ๙ มี.ค.-พ.ค.๕๗ ภายใน พ.ค. ๕๗ คกก.สนับสนุนฯจัดทำร่างแผนพัฒนา ๓ ปี คกก.พัฒนาท้องถิ่น พิจารณาร่างแผน (ลงพิกัดตำแหน่งที่ตั้ง อปท. และโครงการถนน/แหล่งน้ำ อปท.. - สำหรับ อบจ.ให้พิจารณานำโครงการของเทศบาล/อบต.ที่ผ่านการพิจารณาจาก คกก.ประสานแผนฯระดับจังหวัดมาบรรจุในร่างแผนฯของ อบจ. อบจ. ขั้นตอนที่ ๑๐ ภายใน มิ.ย. ๕๗ ผู้บริหาร อปท.พิจารณาอนุมัติและประกาศใช้แผนพัฒนาสามปี (กรณี อบต.ต้องเสนอร่างต่อสภาท้องถิ่นพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนเสนอผู้บริหารพิจารณาอนุมัติ) อปท.
การจัดทำกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนา ของ อปท.ในจังหวัดนครสวรรค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา ยุทธศาสตร์+แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาสามปี
แนวทางการพัฒนา แผนงาน / โครงการ แผนงาน / โครงการ แผนงาน / โครงการ กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม
วงรอบการจัดทำแผน ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ • แผนยุทธศาสตร์ฯ • แผนพัฒนาสามปี • ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ • ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ • ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ • ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท.ในจังหวัด • มีความสอดคล้องกับนโยบาย/ยุทธศาสตร์ ในระดับชาติ/จว./ผลจากดัชนีชี้วัดการพัฒนาต่างๆ • คัดเลือกเฉพาะเรื่องที่สำคัญ และต้องการให้ทุก อปท.ช่วยกันขับเคลื่อนให้บรรลุจุดมุ่งหมาย • ไม่จำเป็นต้องกำหนดทุกเรื่องที่ อปท.ต้องดำเนินการ • ต้องตกลงร่วมกันและมีการกำหนดบทบาทของ อปท.แต่ละแห่งในการดำเนินการ หรือสนับสนุนกรอบยุทธศาสตร์ • อปท.ไม่ต้องดำเนินการทุกยุทธศาสตร์
ขอบเขต/ประเภทโครงการที่เกินศักยภาพของ อปท. • มีการกำหนดหลักเกณฑ์กันไว้ล่วงหน้าที่คำนึงถึง คุณภาพชีวิตของประชาชนที่เท่าเทียมกัน อำนาจหน้าที่ของ อบจ. กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท.ในจังหวัด เป้าหมายแผนชาติ / ยุทธศาสตร์จังหวัด • ในระดับ คกก.ประสานแผนระดับอำเภอต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของโครงการ • อบจ.อาจจะกำหนดวงเงินงบประมาณไว้เป็นกรอบ
กรอบการประสานโครงการพัฒนาของ อปท.ในจังหวัด • โครงการพัฒนาที่ ปชช.ในเขต อปท.ตั้งแต่ ๒ แห่งขึ้นไปได้ประโยชน์ และทำความตกลงกันไว้ • ขนาดของโครงการและงบประมาณในการดำเนินโครงการพัฒนา • ความซับซ้อนของโครงการที่ต้องใช้ความชำนาญพิเศษ • โครงการที่กระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ สภาพแวดล้อม และสภาพภูมิสังคม • การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย • อำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ/อปท.
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น คกก. พัฒนาท้องถิ่น+ประชาคมท้องถิ่น แจ้งแนวทางการพัฒนา+รับทราบปัญหา ความต้องการ จัดทำร่าง คกก. สนับสนุนฯ พิจารณา คกก. พัฒนาท้องถิ่น กรณี อบต. กรณี อบจ. เทศบาล/ เมืองพัทยา สภา อบต.พิจารณาเห็นชอบ ผู้บริหารท้องถิ่นอนุมัติ ประกาศใช้ ผู้บริหารท้องถิ่นอนุมัติ ประกาศใช้
เค้าโครงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเค้าโครงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา บทที่ ๑ บทนำ - องค์ประกอบในการจัดทำยุทธศาสตร์ บทที่ ๒ สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของ อปท. บทที่ ๓ แผนยุทธศาสตร์ของ อปท. พ.ศ. .... – พ.ศ. .... - ยุทธศาสตร์ที่สำคัญของชาติ - การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น - วิสัยทัศน์ / พันธกิจ - ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์จังหวัดกับการพัฒนาของ อปท. - แผนที่ยุทธศาสตร์
การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น ข้อพึงระวังในการการจัดทำแผนพัฒนา • การจัดทำแผนต้องคำนึงถึงข้อมูล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ศักยภาพของท้องถิ่น ความจำเป็นและความเร่งด่วนในการดำเนินการ • บทบาท อำนาจหน้าที่ของแต่ละองค์กรที่เกี่ยวข้อง (โดยเฉพาะกรณี สภา อบต. ที่มีหน้าที่ให้ความเห็นชอบร่างแผนพัฒนาก่อน แล้วผู้บริหารจึงพิจารณาอนุมัติและประกาศใช้) • การมอบให้หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกจัดทำ หรือร่วมจัดทำร่างแผนพัฒนา ต้องจัดทำร่างข้อกำหนดขอบข่ายและรายละเอียดของงาน ที่คำนึงถึงผลลัพธ์ที่จะได้ และควรสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในองค์กรด้วย
การแก้ไข การเพิ่มเติม การเปลี่ยนแปลง • การแก้ไขเป็นอำนาจผู้บริหารท้องถิ่น • การเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาสามปี - คณะกรรมการสนับสนุนฯ จัดทำร่างแผนฯที่เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง เสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณา แล้วเสนอผู้บริหารอนุมัติและประกาศใช้ (กรณี อบต.ต้องเสนอสภา อบต.พิจารณาเห็นชอบก่อนเสนอผู้บริหาร) • การเปลี่ยนแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา - คณะกรรมการสนับสนุนฯ จัดทำร่างแผนฯที่เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง เสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและประชาคมท้องถิ่นพิจารณา แล้วเสนอผู้บริหารอนุมัติและประกาศใช้ (กรณี อบต.ต้องเสนอสภา อบต.พิจารณาเห็นชอบก่อนเสนอผู้บริหาร)
การนำแผนไปปฏิบัติ • การแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ (สภาฯ , กบจ. , อบจ. , อำเภอ , หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) และประกาศให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบ ภายใน 15 วัน และปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่า 30 วัน • ใช้แผนสามปี เป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี • จัดทำแผนการดำเนินงาน เพื่อให้ทราบกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ในรอบปีงบประมาณ - คณะกรรมการสนับสนุนจัดทำแผนดำเนินการ เสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณา แล้วเสนอผู้บริหารประกาศเป็นแผนการดำเนินการภายในเดือนธันวาคมของปีงบประมาณรั้น
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา • เป็นการประเมินตนเอง (Self Assesment) • สามารถมอบหมายให้หน่วยงาน หรือบุคคล ภายนอกดำเนินการ/ ร่วมดำเนินการติดตาม ประเมินผลได้
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา • การติดตาม เป็นการตรวจสอบในระหว่างการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ • การประเมินผล เป็นการตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นจริงเมื่อดำเนินโครงการแล้วเสร็จเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา (จำนวน 11 คน) • ภาค อปท. (ส.อปท. 3,หน.ส่วนฯ 2) 5 คน • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(ผู้บริหารเลือก) 2 คน • ภาคประชาชน(ประชาคมเลือกกันเอง) 2 คน • ผู้ทรงคุณวุฒิ (ผู้บริหารเลือก) 2 คน *เลือกประธาน และเลขานุการ กันเอง
ข้อจำกัดของการติดตามและประเมินผลข้อจำกัดของการติดตามและประเมินผล • ขาดความสนใจ ไม่เห็นความสำคัญ เกรงว่าผลที่ออกมาจะแสดงถึงความล้มเหลวของโครงการ เพราะโครงการหลายโครงการยังขาดการวางแผนที่รัดกุม • มีโครงการเป็นจำนวนมากที่กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการไม่ชัดเจน หรือกว้างมากเกินไป ไม่สามารถนำไปสร้างตัวชี้วัดความสำเร็จได้ • การกำหนดโครงการที่แยกย่อยเกินไปทำให้ไม่เห็นภาพรวมของความสำเร็จ
ข้อจำกัดของการติดตามและประเมินผลข้อจำกัดของการติดตามและประเมินผล • ขาดระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ดี หลายหน่วยงานยังไม่ทราบว่าข้อมูลที่ควรจัดเก็บมีอะไรบ้าง • ยังขาดเจ้าหน้าที่หรือนักวิชาการที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการประเมินผล จึงทำให้การติดตามประเมินผลอยู่ในขอบเขตจำกัด
หลักการบริหารแบบBalance Score Card การพัฒนาองค์กร การพัฒนากระบวนการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
การบริหารทรัพยากร การประหยัด ความคุ้มค่า ขั้นตอนการทำงาน กิจกรรมการพัฒนา พัฒนาคน เครื่องมือ / อุปกรณ์ องค์ความรู้ IT หลักการบริหารแบบBalance Score Card ประสิทธิผล ความพึงพอใจ ประสิทธิภาพ การพัฒนากระบวนการ การพัฒนาองค์กร