1 / 21

การขอความยินยอมฯ

การขอความยินยอมฯ. นพ ศุภชัย ฤกษ์งาม ผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค. การขอความยินยอม สมัครใจ เป็นอาสาสมัคร ( informed consent ). กระบวนการ ได้รับข้อมูลอย่างครบถ้วน การแจ้งข้อมูล การทำความเข้าใจข้อมูล การยินยอมด้วยความสมัครใจ. คำประกาศเฮลซิงกิ , ICH-GCP.

dori
Download Presentation

การขอความยินยอมฯ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขอความยินยอมฯ นพ ศุภชัย ฤกษ์งาม ผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค

  2. การขอความยินยอมสมัครใจเป็นอาสาสมัคร(informed consent) กระบวนการ ได้รับข้อมูลอย่างครบถ้วน • การแจ้งข้อมูล • การทำความเข้าใจข้อมูล • การยินยอมด้วยความสมัครใจ

  3. คำประกาศเฮลซิงกิ,ICH-GCP. …ผู้ที่จะเป็นอาสาสมัคร ต้องได้รับข้อมูลต่อไปนี้ … • วัตถุประสงค์ และวิธีการศึกษาทดลอง • โอกาสเกิดอันตราย และประโยชน์ ที่จะได้รับจากการวิจัย • ความไม่สบาย ที่อาจเกิดขึ้นกับอาสาสมัคร • อาสาสมัครสามารถปฏิเสธไม่เข้าร่วม หรือถอนตัวจากการวิจัยได้อย่างอิสระตลอดเวลา โดยไม่เกิดผลเสียใดๆ

  4. สาระสำคัญ: • อาสาสมัครต้องได้รับข้อมูลทุกๆด้าน ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการทบทวนโครงร่างการวิจัยแล้ว • ก่อนเริ่มกระบวนการวิจัย อาสาสมัครต้องลงลายเซ็นพร้อมวันที่ในหนังสือแสดงความยินยอมยินดีและสมัครใจด้วยตนเองแล้วรับสำเนาไปเก็บไว้เองหนึ่งชุด

  5. กระบวนการขอคำยินยอมร่วมวิจัย(Consenting process) 1. ให้ข้อมูลอย่างครบถ้วน เข้าใจได้ - เอกสารแนะนำโครงการ 2. ให้เวลาทำความเข้าใจ ตัดสินใจ ซักถาม ปรึกษาคนอื่น 3. แสดงหลักฐานการตัดสินใจ( ICH.GCP ) - เอกสารแสดงความยินยอม

  6. กระบวนการขอคำยินยอม ให้อ่านเอกสาร ต้องระบุว่า จะขออย่างไร อธิบายให้ฟัง ให้ซักถาม ที่ไหน ให้ปรึกษาญาติ โดยใคร ป้องกันประโยชน์ทับซ้อนอย่างไร

  7. 1) สื่อกับอาสาสมัคร/ผู้ร่วมวิจัย2)ใช้ภาษา และเนื้อหาเหมาะสมกับเป้าหมายไม่ใช้ศัพท์วิชาการ ไม่ใช้ภาษากฎหมาย 3) เก็บใจความสำคัญจากprotocol4) แยกเฉพาะแต่ละกลุ่มเป้าหมาย เอกสารแนะนำโครงการฯ

  8. consent ( ≥ 18 ปี )parental consent (< 18 ปี )assent + parental consent(7-18 ปี) ประเภท

  9. เนื้อหาสำคัญของเอกสารคำแนะนำฯเนื้อหาสำคัญของเอกสารคำแนะนำฯ • ข้อความที่ระบุว่าการทดสอบนี้เป็นการวิจัย • วัตถุประสงค์ของการทดสอบ • กระบวนการได้รับยาในการทดสอบ และโอกาสที่จะได้รับยา • กระบวนการทดสอบทั้งหมด รวมทั้งที่มีการทิ่มแทงหรือสอดใส่ • ความรับผิดชอบของอาสาสมัคร • แง่มุมของการทดสอบที่เป็นการทดลอง

  10. เนื้อหาสำคัญของเอกสารคำแนะนำฯเนื้อหาสำคัญของเอกสารคำแนะนำฯ • กระบวนการ หรือวิธีการรักษาที่เป็นทางเลือกอื่น รวมทั้งความเสี่ยง และโอกาสที่จะได้รับประโยชน์จากทางเลือกนั้น • ความเสี่ยง หรือความไม่สบาย ที่ผู้วิจัยเล็งเห็น • ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย • ค่าชดเชย และ/หรือ การดูแลรักษาหากเกิดการบาดเจ็บ จากการทดลอง

  11. เนื้อหาสำคัญของเอกสารคำแนะนำฯเนื้อหาสำคัญของเอกสารคำแนะนำฯ • ประมาณการค่าใช้จ่ายที่อาสาสมัครต้องรับผิดชอบ • ข้อความที่ระบุว่า การเข้าร่วมโครงการวิจัย เป็นไปโดยสมัครใจ • ข้อความที่ระบุว่า แบบบันทึกข้อมูลที่มีรายละเอียดของอาสาสมัคร จะถูกเก็บรักษาไว้เป็นความลับ • ข้อความที่ระบุว่า ผู้ตรวจสอบ, คณะกรรมการทบทวนโครงร่างวิจัย และหน่วยงานทางการ สามารถเข้าถึงข้อมูลของอาสาสมัครได้

  12. เนื้อหาสำคัญของเอกสารคำแนะนำฯเนื้อหาสำคัญของเอกสารคำแนะนำฯ • ข้อความที่ระบุว่า อาสาสมัครจะได้รับการแจ้งให้ทราบ เมื่อมีข้อมูลใหม่ • ชื่อผู้ที่จะให้อาสาสมัครติดต่อได้ หากต้องการข้อมูลเกี่ยวกับ การทดสอบเพิ่มเติม รวมทั้งสิทธิของอาสาสมัคร • สถานการณ์ที่อาสาสมัครจะถูกให้ออกจากการวิจัย • ระยะเวลาที่ต้องอยู่ในโครงการวิจัย • จำนวนของอาสาสมัครทั้งหมดโดยประมาณ • ฯลฯ

  13. เอกสารแนะนำโครงการวิจัย: เอกสารแนะนำโครงการวิจัย: - ไม่ใช่การนำ protocol มาตัดแปะ - อาสาสมัครสามารถอ่าน และเข้าใจได้ - Information sheet จะทำรวมหรือแยกกับ Consent form ก็ได้ - ในเด็กอายุตั้งแต่ 12 ปี ต้องมี assent form

  14. เอกสารแสดงความยินยอม โดยสมัครใจ: • ต้องไม่มีข้อความ บีบบังคับ ข่มขู่ -ข่มขู่ว่าอาจเกิดอันตรายถ้าไม่เข้าร่วมโครงการ -ข่มขู่ว่าจะไม่ให้บริการสุขภาพที่จำเป็นในอนาคต -ขอให้ร่วมมือผ่านทางผู้บังคับบัญชา ญาติ ผู้ใกล้ชิด • ต้องไม่มีข้อความ โน้มน้าวจิตใจ -ระบุว่าจะให้รางวัลหรือค่าตอบแทนที่มากเกินไป -ใช้ถ้อยคำชักนำ โน้มน้าว ผู้ที่อยู่ในภาวะอ่อนแอ

  15. การแสดงความยินยอมด้วยความสมัครใจ:การแสดงความยินยอมด้วยความสมัครใจ: • อาสาสมัครต้องลงนามในใบยินยอม เป็นรายบุคคล • สามารถยกเลิกความยินยอมได้ตลอดเวลา • เมื่อมีข้อมูลใหม่ ต้องเริ่มกระบวนการใหม่

  16. การดำเนินการขอความยินยอม สมัครใจฯ: • อาสาสมัครต้องได้รับข้อมูลทุกๆด้าน สอดคล้อง ตรงกับเอกสารซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการทบทวนโครงร่างการวิจัยแล้ว • ต้องไม่มีการบังคับ เคี่ยวเข็นให้เป็นอาสาสมัคร • อาสาสมัครต้องให้โอกาส และเวลาที่มากพอที่จะซักถามรายละเอียด จนหายสงสัย • ก่อนเริ่มกระบวนการวิจัย อาสาสมัครต้องลงลายเซ็นพร้อมวันที่ในหนังสือแสดงความยินยอมยินดีและสมัครใจด้วยตนเองแล้วรับสำเนาไปเก็บไว้เองหนึ่งชุด

  17. การทำความเข้าใจข้อมูล:การทำความเข้าใจข้อมูล: • ต้องประเมินผู้รับข้อมูล ว่ามีสติปัญญา การรู้จักในเหตุและผล มีความเป็นผู้ใหญ่ และสามารถที่จะเข้าใจภาษา และข้อมูลสำคัญของโครงการวิจัย • ถ้าจะให้บุคคลที่สาม ทำการแทนเพื่อตัดสินใจให้ ต้องเป็นผู้ที่เข้าใจสถานภาพของผู้ที่จะเป็นอาสาสมัคร และสามารถเข้าใจเนื้อหาได้จริง

  18. การให้โอกาสทำความเข้าใจ:การให้โอกาสทำความเข้าใจ: • ต้องให้เวลาทำความเข้าใจ อย่างเพียงพอ • ให้โอกาสปรึกษากับบุคคลอื่นได้ • ตอบข้อซักถามจนหายสงสัย

  19. การทำความเข้าใจข้อมูล:การทำความเข้าใจข้อมูล: • สื่อช่วยทำความเข้าใจ • เอกสารสิ่งพิมพ์ แผ่นพับ • ภาพพลิก • วีดีทัศน์ • ทำการทดสอบความเข้าใจว่าเข้าใจจริงหรือไม่ ตามที่ระบุไว้ในโครงร่างวิจัย

More Related