810 likes | 2.03k Views
สื่อประกอบการสอน วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัส ว31101. การเคลื่อนที่. โรงเรียนน้ำพองศึกษา. ชายธวัช แสงวงศ์. สื่อการเรียนรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่. จุดประสงค์การเรียนรู้. วัตถุประสงค์สื่อการเรียน. ระยะทาง-การกระจัด. อัตราเร็ว. ความเร่ง. การเคลื่อนที่ในชีวิตประจำวัน. จุดประสงค์การเรียนรู้.
E N D
สื่อประกอบการสอน วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัส ว31101 การเคลื่อนที่ โรงเรียนน้ำพองศึกษา ชายธวัช แสงวงศ์
สื่อการเรียนรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ วัตถุประสงค์สื่อการเรียน ระยะทาง-การกระจัด อัตราเร็ว ความเร่ง การเคลื่อนที่ในชีวิตประจำวัน
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ • อธิบายความหมายของ ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็วและ • ความเร่งและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ • 2. อธิบายเกี่ยวกับตำแหน่งของวัตถุ และการเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุได้ • 3. ทดลองและอภิปรายเกี่ยวกับลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบต่างๆได้
วัตถุประสงค์สื่อการเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่ 1.วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนทบทวนและเพิ่มเติมความรู้หลังจากเรียนในห้องเรียนแล้ว 2. เพื่อพัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์หลักการของการเคลื่อนที่ 3. เพื่อให้นักเรียนนำความรู้การเคลื่อนที่ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
การเคลื่อนที่ ปริมาณที่ศึกษามีต่อไปนี้ • ระยะทาง • การกระจัด • อัตราเร็ว • อัตราเร่ง • ความเร็ว • ความเร่ง
ระยะทาง และการกระจัด ( Displacement and Distance ) • ระยะทางคือ ความยาวที่วัดตามเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ เป็นปริมาณสเกลาร์ • การกระจัด คือ ระยะที่วัดจากจุดตั้งต้นไปยังจุดสุดท้ายของการเคลื่อนที่ เป็นปริมาณเวกเตอร์
A C B ระยะทาง และการกระจัด ( Displacement and Distance ) หมายเหตุ เส้นทึบ แทนระยะทาง เส้นประ แทนการกระจัด
- + จุดอ้างอิง 6กม O X 3 กม ถ้ารถยนต์คันหนึ่งกำลังแล่นไปตามถนนตรงสายหนึ่ง จงหาอัตราเร็วช่วงเวลา 8.00-10.00 น
1 2 - + จุดอ้างอิง O X 3 6 ก.ม. ที่เวลา รถอยู่ที่ 1 ห่างจากจุดอ้างอิง ที่เวลา รถอยู่ที่ 2 ห่างจากจุดอ้างอิง ดังนั้น รถยนต์มีการกระจัด เป็นการกระจัดมีทิศจาก
-100 -50 0 50 100 X ( m ) ถ้ารถแล่นจากจุดอ้างอิงไปทางขวา 100 m แล้วถอยหลังกลับมาทางซ้าย 150 m อยู่ทางซ้ายของจุดอ้างอิง อยู่ทางขวาของจุดอ้างอิง เครื่องหมาย ( + ) ( - ) อยู่ทางซ้ายของจุดอ้างอิง
ระยะทาง เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ทั้งหมด = อัตราเร็ว (Speed) อัตราเร็ว คือการเปลี่ยนแปลงระยะทางต่อเวลา อัตราเร็วเฉลี่ย เช่น ขับรถไปได้ระยะทาง 800 กิโลเมตร ใช้เวลา 10 ชั่งโมง ดังนั้นอัตราเร็วเฉลี่ยคือ 800 กิโลเมตร / 10 ชั่วโมง หรือ 80 กิโลเมตร / ชั่วโมง
ต.ย. นายกอออกเดินทางจาก ร.ร.น.ศ. เพื่อไปเขื่อนอุบลรัตน์ ซึ่งมีระยะทาง 45 กิโลเมตร ถ้าต้องการใช้เวลาเดินทาง 1.5 ช.ม. จะต้องขับรถด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยเท่าใด
ขนาดการกระจัด เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ทั้งหมด = ความเร็ว ( Velocity) ความเร็ว เป็นการบอกการเคลื่อนที่ของวัตถุโดย คำนึงถึงทิศทาง ความเร็วจึงจัดเป็นปริมาณ เวกเตอร์ ความเร็วเฉลี่ย
ขนาดการกระจัด เวลาทั้งหมดการเคลื่อนที่ 200-250 ม. 5x60 วินาที = = ตัวอย่างเช่นนายชายเดินไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะทาง 200 m แล้วหันหลังกลับเดินทางไปทางทิศตะวันตกระยะทาง 250 m โดยใช้เวลาทั้งสิ้น 5 นาที ความเร็ว ของชายคนนี้มีค่าเท่าไร 250 m 200 m ทิศตะวันตก ทิศตะวันออก O ความเร็ว
ตัวอย่าง นักวิ่งคนหนึ่งวิ่งด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 3 m/s ในเวลา 1.5 ชั่วโมง หรือ 5400 วินาที นักวิ่งคนนี้จะวิ่งไกลกี่เมตร วิธีทำ ระยะทาง 3 เมตร ใช้เวลาวิ่ง 1 วินาทีดังนั้นเวลา 5400 วินาที จะวิ่งได้ดังสมการ ระยะทาง = อัตราเร็วเฉลี่ย x เวลา = (3 m/s)(5400 s) = 16200 m = 16.2 km ตอบ
ความเร็วที่เปลี่ยนไป ช่วงเวลาที่ใช้ = ความเร่ง (Acceleration) • ความเร่ง หมายถึงการเปลี่ยนแปลงความเร็วต่อหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที2(m/s2) เป็นปริมาณเวกเตอร์ ความเร่งเฉลี่ย
(40-20) เมตร/วินาที (10 วินาที) 20 เมตร / วินาที (10 วินาที) = = ต.ย. ร.ต.อ.ปอขับรถด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาทีต่อมาเพิ่มความเร็วเป็น 40 เมตร/วินาที ในเวลา 10 วินาทีจะมีความเร่งเท่าใด ความเร่งของรถเป็น = 2 เมตร / วินาที 2
ต.ย. นายปองขับรถด้วยความเร็ว 28 เมตร/วินาทีต่อมาลดความเร็วเป็น 13 เมตร/วินาที ในเวลา 10 วินาทีจะมีความเร่งเท่าใด วิธีทำ
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทด์ การเคลื่อนที่แบบวงกลม การเคลื่อนที่แบบคาบ การตกอย่างอิสระ การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์ • คือการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นแนวโค้งในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่อย่างเสรีด้วยแรงโน้มถ่วงคงที่เช่นวัตถุเคลื่อนที่ไปในอากาศภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ทางเดินของวัตถุจะเป็นรูปพาราโบลา
ตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์ตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์
การเคลื่อนที่แบบวงกลม(Motion of circle)
การเคลื่อนที่เป็นวงกลมการเคลื่อนที่เป็นวงกลม หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุด้วยอัตราเร็วคงที่ตลอดการเคลื่อนที่ที่มีลักษณะเป็นวงกลม
การหาแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบวงกลมการหาแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบวงกลม จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน และการเคลื่อนที่แบบวงกลม แรงลัพธ์ที่มากระทำต่อวัตถุกับความเร่งของวัตถุจะมีทิศทางเดียวกัน คือทิศพุ่งเข้าหาจุดศูนย์กลาง
ตัวอย่างการเคลื่อนที่เป็นวงกลมตัวอย่างการเคลื่อนที่เป็นวงกลม
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple Harmonic Motion)
การเคลื่อนที่แบบคาบ คือการที่วัตถุเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำรอยเดิม มักจะใช้สัญญลักษณ์ว่า SHM. ตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบนี้ได้แก่ การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูกผูกติดไว้กับสปริงในแนวราบ
การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา • พิจารณาลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบา แล้วแกว่งไปมาในแนวดิ่งในทำนองเดียวกับการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา
การเคลื่อนที่แนวตรง • วัตถุเคลื่อนที่จากจุดเริ่มต้นไปตามทิศเคลื่อนที่แนวเส้นตรง
การตกอย่างอิสระ • การตกอย่างอิสระคือการเคลื่อนที่ ที่วัตถุตกลงมาเนื่องจากอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงเท่านั้น วัตถุจะ ตกลงมาด้วยความเร่งคงที่ g = 9.8 m/s2เสมอ โดยไม่ขึ้นอยู่กับความเร็วต้นของ วัตถุ
Link • http://www.physics.uoguelph.ca/tutorials/shm/phase0.html • http://www.phy.davidson.edu/StuHome/jocampbell/projectile/projectile.htm • http://www.physics.uoguelph.ca/tutorials/shm/velocity3.html • http://www.physicsclassroom.com/mmedia/vectors/nhlp.cfm • http://www.housepixels.com/aoimanual/animation.html