1 / 37

โครงสร้างคอนกรีตที่มีความทนทาน

โครงสร้างคอนกรีตที่มีความทนทาน. โครงสร้างคอนกรีตที่มีความทนทาน. คอนกรีตเสริมเหล็กเป็นคอนกรีตที่ได้รับความนิยมมาก เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ดีหลายประการ คือ มีความทนทาน ค่าบำรุงรักษาต่ำ อายุการใช้งาน ราคาประหยัดกว่าวัสดุโครงสร้างอื่นๆ. โครงสร้างคอนกรีตที่ทนทาน. การออกแบบเพื่อความทนทาน.

donna-russo
Download Presentation

โครงสร้างคอนกรีตที่มีความทนทาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงสร้างคอนกรีตที่มีความทนทานโครงสร้างคอนกรีตที่มีความทนทาน

  2. โครงสร้างคอนกรีตที่มีความทนทานโครงสร้างคอนกรีตที่มีความทนทาน • คอนกรีตเสริมเหล็กเป็นคอนกรีตที่ได้รับความนิยมมาก เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ดีหลายประการ คือ • มีความทนทาน • ค่าบำรุงรักษาต่ำ • อายุการใช้งาน • ราคาประหยัดกว่าวัสดุโครงสร้างอื่นๆ

  3. โครงสร้างคอนกรีตที่ทนทานโครงสร้างคอนกรีตที่ทนทาน

  4. การออกแบบเพื่อความทนทานการออกแบบเพื่อความทนทาน • ขั้นตอนการออกแบบโครงสร้าง เริ่มตั้งแต่ • การกำหนดความต้องการของเจ้าของอาคาร • การออกแบบแนวความคิดทางสถาปัตยกรรม(Architectural Concepts) • การออกแบบวัสดุที่จะเลือกใช้ (Structural Form)

  5. ปัจจัยพิจารณาในการออกแบบ 1.รูปร่างของโครงสร้าง ( Structure Geometry ) รูปร่างของโครงสร้างเป็นปัจจัยที่สำคัญเพื่อที่จะได้คอนกรีตที่มีความทนทาน โดยพิจารณา ดังนี้ • หลีกเลี่ยงการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างที่บางหรือซับซ้อน เพราะการเทและการอัดแน่นคอนกรีตทำได้ยาก

  6. รูป การหลีกเลี่ยงออกแบบโครงสร้างที่ซับซ้อน • สารละลายต่างๆที่เป็นอันตรายต่อคอนกรีตและเหล็กเสริม ทำให้คอนกรีตแตกร้าว B. ทางเลือกใหม่ในการออกแบบคอนกรีต

  7. ควรออกแบบโครงสร้าง ให้มีการระบายน้ำที่ดี เช่น การทำ ผิวบนชิ้นส่วนโครงสร้างให้มีความลาดเอียง • ควรออกแบบบริเวณมุมให้เหมาะสม • พิจารณาความสามารถในการทำงานได้ (Buildability) • ลดพื้นที่ผิวของชิ้นส่วนโครงสร้างที่สัมผัสกับน้ำ และลดบริเวณที่น้ำจะขังเพราะน้ำและความชื้นจะนำสารละลายต่างๆซึมเข้าทำอันตรายต่อคอนกรีตและเหล็กเสริม

  8. 2. รอยต่อ ( Joint ) • ควรออกแบบรอยต่อให้เหมาะสมเพื่อลดการแตกร้าว เนื่องจาก • การหดตัว • การขยายตัว • ผลจากการแตกต่างระหว่างอุณหภูมิ • การทรุดตัวของโครงสร้าง • หลีกเลี่ยงการออกแบบให้น้ำไหลผ่านรอยต่อ ยางรับเบอร์ ป้องกันการรั่วซึม เหมาะกับงานเขื่อน ฝายกันน้ำ เป็นต้น

  9. 3. การให้รายละเอียด (Detailing) • เส้นในควรเป็นเส้นที่มีความหนา • ควรมีรายละเอียดที่ดีเพื่อป้องกันการแตกร้าวหรือรูพรุนของโครงสร้างคอนกรีต • บริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงหน่วยแรงหรือเปลี่ยนแปลงหน้าตัดของโครงสร้างก่อให้เกิด Stress Concentration ทำให้เกิดการแตกร้าว

  10. ตามแบบระบุ • ระยะหุ้มเหล็กเสริมน้อยกว่าที่กำหนด รูป การให้รายละเอียดที่มีความสำคัญต่อความทนทานของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

  11. ระยะหุ้มน้อยที่สุดตามมาตรฐาน ACI

  12. บริเวณจุดรองรับ (Support) จะเกิดหน่วยแรง (Local Spliting Force) ทำให้เกิดการแตกร้าวควรให้รายละเอียดการเสริมเหล็กที่เหมาะสม • การให้รายละเอียดของเหล็กเสริมมีอิทธิพลต่อความทนทานของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก • โครงสร้างบางประเภท จะต้องดูแล และบำรุงรักษาในช่วงอายุการใช้งาน ผู้ออกแบบควรพิจารณารายละเอียด เพื่อใช้ในการบำรุงรักษา

  13. การเท,การจี้เขย่าให้คอนกรีตอัดแน่นทำได้ยากการเท,การจี้เขย่าให้คอนกรีตอัดแน่นทำได้ยาก การเสริมเหล็กที่ถูกต้อง ควรเป็นดังนี้ 1. มีช่องว่างให้เครื่องเขย่าคอนกรีตทำงานได้ 2.ระยะห่างของเหล็กเสริมต้องเหมาะสม การให้รายละเอียดเหล็กเสริม

  14. 4. เหล็กเสริม เมื่อโครงสร้างของคอนกรีตเสริมเหล็กอยู่ในตำแหน่งที่ทำให้เกิดอันตราย ผู้ออกแบบควรเลือกเหล็กเสริมหรือวิธีป้องกันดังนี้ 1.ใช้เหล็กเสริมที่มีการเคลือบผิว 2.ใช้เหล็กไร้สนิม (Stainless Steel) 3.ใช้วิธีป้องกัน เช่น Cathodic Protection

  15. เหล็กเสริมที่หนาแน่นมากทำให้การเทและการอัดแน่นทำได้ยากเหล็กเสริมที่หนาแน่นมากทำให้การเทและการอัดแน่นทำได้ยาก

  16. 5.ลักษณะผิว (Surface) สารเคมี สารละลาย หรือ สารที่เป็นอันตรายต่อคอนกรีตและเหล็กเสริม จะซึมเข้าทำลายโดยผ่านผิวคอนกรีตทั้งสิ้น ดังนั้นผิวคอนกรีตจะเป็นส่วนสำคัญสำหรับความทนทาน ผู้ออกแบบควรจะหาวิธีป้องกัน ดังนี้ • ฉาบผิวคอนกรีตด้วยมอร์ต้าหรือปูนฉาบ • เคลือบผิวคอนกรีตด้วยวัสดุที่เหมาะสมเพื่อป้องกัน ความชื้น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟต และคลอไรด์ เป็นต้น • เลือกลักษณะผิวคอนกรีตที่เหมาะสมกับสภาพการใช้งาน

  17. ข้อกำหนดเพื่อความทนทานข้อกำหนดเพื่อความทนทาน ข้อกำหนด หรือ Specification คือ ข้อกำหนดของวัสดุรวมทั้งข้อกำหนดด้านฝีมือแรงงานด้วย (Workmanship) ดังนี้ 1. ข้อกำหนดสำหรับคอนกรีตและเหล็กเสริมเพื่อความทนทาน ความสามารถต้านทานต่อสภาพแวดล้อม ของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก และคอนกรีตอัดแรงขึ้นอยู่กับคุณภาพของวัสดุ เช่น คอนกรีตและเหล็กเสริม

  18. 1.1 วัสดุผสม

  19. 1.1วัสดุผสม (ต่อ)

  20. 1.2 สัดส่วนผสม คอนกรีตที่ใช้ในการออกแบบให้มีความทนทานควรใช้ปริมาณซีเมนต์ที่เพียงพอ และอัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เช่น • คอนกรีตที่ต้องการให้มีความทึบน้ำ ควรใช้ W/C ตามข้อกำหนด • ถ้ามีปริมาณซัลเฟตปานกลาง ให้ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท ที่ 5 โดย W/C ไม่เกิน 0.50 ปริมาณปูนต่ำสุด 330 กก./ลบ.ม. • ถ้ามีปริมาณซัลเฟตสูง ให้ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 5 โดย W/C ไม่เกิน 0.45 ปริมาณปูนต่ำสุด 370 กก./ลบ.ม.

  21. 1.2 สัดส่วนผสม ข้อกำหนดสำหรับอัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์ และกำลังอัดในสภาพการใช้งาน

  22. w/c 0.3 เม็ดซีเมนต์ 0.5 0.8 จากรูป คอนกรีตที่ใช้ปริมาณซีเมนต์สูง จะมีเนื้อแน่น อากาศ และของเหลวซึมผ่านได้ยาก แสดงว่าคอนกรีตมีความทนทานสูง

  23. เม็ดซีเมนต์ ถนนคอนกรีตที่ใช้ซีเมนต์น้อยเกินไป เม็ดซีเมนต์ ถนนคอนกรีตที่ใช้ซีเมนต์ครบตามข้อกำหนด ตัวอย่างถนนคอนกรีตที่ใช้คอนกรีตน้อย ทำให้ความคงทนลดลง

  24. 1.3 เหล็กเสริม

  25. 2.ข้อกำหนดสำหรับไม้แบบ2.ข้อกำหนดสำหรับไม้แบบ ข้อกำหนดของไม้แบบที่เกี่ยวข้องกับความทนทานของคอนกรีต คือ • ไม้แบบต้องแข็งแรงและไม่ดูดซึมน้ำ โดย การทาน้ำมันหรือน้ำยาเคลือบแบบที่ไม่เป็นอันตรายต่อคอนกรีต • รอยต่อต่างๆของไม้แบบ ต้องมีการอุดตันการรั่วไหลของน้ำปูนอย่างดี

  26. ไม้แบบ (a) ไม้แบบ (b) ลักษณะไม้แบบไม่ดี

  27. 3. ข้อกำหนดสำหรับฝีมือแรงงาน 3.1 การผสมคอนกรีต • ควรชั่งส่วนผสมคอนกรีตให้ถูกต้องตามส่วนผสมที่ออกแบบไว้ • การผสมคอนกรีตควรปฏิบัติตามมาตรฐาน เช่น เวลาที่ใช้ในการผสม 3.2 การขนส่ง การเท และการจี้เขย่าคอนกรีต • คอนกรีตต้องถูกขนส่งโดยไม่ก่อให้เกิดการแยกตัว • อย่าเทคอนกรีตลงที่เหล็กเสริมโดยตรงเพราะทำให้เกิดการแยกตัวของส่วนผสม • เมื่อเทคอนกรีตต้องมีการจี้เขย่าให้คอนกรีตอัดแน่นอย่างถูกต้อง

  28. 3. ข้อกำหนดสำหรับฝีมือแรงงาน (ต่อ) 3.3 การแต่งผิวหน้าคอนกรีต 3.4 การบ่มคอนกรีต • ควรบ่มคอนกรีตให้ถูกต้องตามวิธีการกำหนด • ผู้ออกแบบ ควรพึงระวังไว้ว่า 1.การบ่มที่ดี เป็นสิ่งที่จำเป็นในการทำคอนกรีตที่ดี 2.การบ่มที่ไม่ดี จะไม่มีประโยชน์ ถึงแม้ว่าส่วนผสมนั้นจะเป็นส่วนผสมที่ดี 3.การบ่มที่ดีจะไม่สามารถทดแทนคอนกรีตที่คุณภาพไม่ดี

  29. 3. ข้อกำหนดสำหรับฝีมือแรงงาน (ต่อ) 3.5 ไม้แบบ - ไม้แบบต่างๆ จะต้องมีการค้ำยันในตำแหน่งที่ถูกต้อง และมั่นคง - ต้องปล่อยให้คอนกรีตอยู่ในแบบอย่างน้อยเท่ากับเวลาตามมาตรฐาน - การถอดไม้แบบต้องทำด้วยความระมัดระวังเพราะคอนกรีตยังมีกำลังต่ำอยู่ 3.6 รอยต่อ - ตำแหน่งและรายละเอียดของรอยต่อต้องเป็นไปตามมาตรฐาน

  30. การใช้คอนกรีตที่มีสัดส่วนผสมไม่เหมาะ รวมทั้งวิธีการเทและการอัดแน่นไม่ดี ทำให้คอนกรีตมีรูพรุน ความทนทานลดลงอย่างมาก

  31. การก่อสร้างเพื่อความทนทานการก่อสร้างเพื่อความทนทาน ข้อกำหนดของงานที่ดี จะสำคัญมากเพื่อจะได้คอนกรีตเสริมเหล็กที่มีความทนทาน ซึ่งในการก่อสร้างอาจทำให้คอนกรีตขาดความทนทาน เช่น • การเทและการอัดแน่น ทำไม่ถูกวิธี ทำให้เกิดการแยกตัวและเกิดโพรงพรุน • ไม้แบบไม่อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน เช่น มีรูรั่วหรือมีการดูดซึมน้ำอย่างมาก • ระยะหุ้มไม่ถูกต้อง ทำให้สารละลายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เข้าไปทำอันตรายเหล็กเสริม

  32. การก่อสร้างเพื่อความทนทาน (ต่อ) • รอยต่อทำไม่ถูกต้อง หรือไม่ทำความสะอาดก่อนที่จะเทคอนกรีต • การบ่มมักจะถูกละเลย ทำให้ได้กำลังอัดน้อยกว่าที่กำหนด เพราะปฏิกิริยาไฮเดรชั่นเกิดไม่สมบูรณ์ • การต้านทานการซึมผ่านของน้ำต่ำ ทำให้ความทนทานลดลง • การเสริมเหล็กไม่ถูกตำแหน่ง ทำให้เกิดรอยร้าว

  33. รอยแตกร้าว ตามแบบระบุ ตามสภาพการใช้งานจริง การเสริมเหล็กที่ไม่ถูกต้อง ทำให้เกิดการแตกร้าว ความทนทานลดลง

  34. การบำรุงรักษาเพื่อความทนทานการบำรุงรักษาเพื่อความทนทาน ยากต่อการตรวจสอบ (a) ง่ายต่อการบำรุงรักษา และแก้ไข ท่อระบายน้ำ การให้รายละเอียดตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบที่เหมาะสมจะทำให้การตรวจสอบการบำรุงรักษาเพื่อการแก้ไขทำได้ง่าย

  35. การบำรุงรักษาเพื่อความทนทานการบำรุงรักษาเพื่อความทนทาน • สิ่งที่สำคัญในการตรวจสอบโครงสร้าง คือ การเข้าถึงบริเวณที่จะตรวจสอบ • ควรมีการตรวจสอบโครงสร้างอย่างสม่ำเสมอ • ต้องออกแบบเพื่อให้สามารถทดแทน (Replacability)โครงสร้างได้เฉพาะบริเวณที่ต้องสัมผัสกับสภาพแวดล้อมที่ทำให้อายุการใช้งานสั้น • ควรตรวจสอบหาสาเหตุก่อนที่จะทำการแก้ไข • ควรแก้ไขชิ้นส่วนโครงสร้างที่เกิดความเสียหายทันทีที่ตรวจสอบ • ควรเลือกวัสดุซ่อมแซมที่เหมาะสม

More Related