250 likes | 722 Views
MJU. การออกแบบระบบการดำเนินการ บทที่ 10 การวางแผนกำลังการผลิต ( Capacity Planning). การจัดการดำเนินงาน (Operations Management). MJU. การวางแผนกำลังการผลิต. การวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning) - APP.
E N D
MJU. การออกแบบระบบการดำเนินการ บทที่ 10 การวางแผนกำลังการผลิต (Capacity Planning) การจัดการดำเนินงาน(Operations Management)
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning) - APP • เป็นการวางแผนระดับการผลิตและทรัพยากรการผลิตโดยรวม เพื่อให้อุปทานของสินค้า สอดคล้องกับอุปสงค์ของสินค้า • ในการวางแผนการผลิตรวม ผู้บริหารจะสามารถเปลี่ยนแปลงอุปสงค์ / อุปทาน ได้ คือ
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การเปลี่ยนแปลงอุปสงค์ (Modifying Demand) หรือ วิธีการปรับความต้องการสินค้าของลูกค้า • ตั้งราคา (Pricing) :- ลดราคา/ให้ส่วนลดเมื่อซื้อจำนวนมาก • ส่งเสริมการจำหน่าย (Promoting) :- โฆษณา แจกตัวอย่าง ให้ของแถม • ผลิตสินค้าเสริม (Complementary Products) :- สินค้าที่มีความต้องการตามฤดูกาล ควรผลิตสินค้าอื่นเพิ่ม เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรการผลิตที่มีอยู่ได้มากขึ้น • สั่งซื้อค้างส่ง/การจอง (Backorders/Reservation) • Backorders หมายถึง การไม่มีสินค้าหรือสินค้ามีไม่พอกับที่ลูกสั่งซื้อ • Reservation หมายถึง ลูกค้าบอกความต้องการสินค้าในอนาคต
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การเปลี่ยนแปลง อุปทาน (Modifying Supply) หรือ วิธีการปรับปริมาณสินค้าของผู้ขาย/ผู้ผลิต • จ้างแรงงานเพิ่ม / ปลดแรงงานออก (Hiring / Layoff) ใช้กับ unskilled labor หาแรงงานได้ง่าย ไม่มีปัญหากับสหภาพแรงงาน • จ้างแรงงานชั่วคราว (Part-Time Labor) เข้ามาเสริมแรงงานที่มีอยู่เดิม ในบางช่วงเวลาที่มี demand มาก • ทำงานล่วงเวลา / ลดเวลาทำงาน (Overtime / Undertime) • ว่าจ้างผู้ผลิตรายอื่น (Subcontracting) • เก็บรักษาสินค้าคงคลัง (Carrying Inventory) โดยยังคงรักษาระดับการผลิตที่คงที่ไว้
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต กลยุทธ์การวางแผนการผลิตรวม 1. กลยุทธ์การผลิตสินค้าในระดับสม่ำเสมอ (Level Strategy) ผลิตเฉลี่ยเท่ากันในแต่ละงวด ไม่ว่า demand ในงวดนั้นจะเป็นเท่าใดก็ตาม • demand < supply เก็บสินค้าส่วนเกินไว้เป็นสินค้าคงคลัง • demand > supply นำสินค้าคงคลังออกมาขาย 2. กลยุทธ์การผลิตสินค้าตามการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์(Chase Strategy) ผลิตเท่ากับ demand ในแต่ละงวด • demand < supply …?...การผลิต • demand > supply …?...การผลิต ลดการผลิต ปลดแรงงาน
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต ตัวอย่างการหาต้นทุนในการวางแผนการผลิตรวมโดยใช้กลยุทธ์การผลิตสินค้าในระดับสม่ำเสมอ และตามการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ เงื่อนไขที่กำหนด ต้นทุนการจ้างแรงงานเพิ่ม 200 บาท/คน ต้นทุนการปลดแรงงานออก 1,000 บาท/คน ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 1 บาท/หน่วย/ไตรมาส ความสามารถในการผลิต 1,000 หน่วย/คน/ไตรมาส ในไตรมาสที่ 1 มีจำนวนแรงงาน 200 คน
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต 200,000 – 160,000 160,000 / 1,000 200 - 160 200,000 + 40,000 – 100,000 160 - 100 100,000 / 1000 100 - 240 240 - 300 40,000 + 140,000 + 100,000 + 0 280,000 * 1 บาท (200 * 200 บาท) + (100 * 1,000 บาท) ต้นทุนการจ้างแรงงานเพิ่ม 200 บาท/คน ต้นทุนการปลดแรงงานออก 1,000 บาท/คน ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 1 บาท/หน่วย/ไตรมาส ความสามารถในการผลิต 1,000 หน่วย/คน/ไตรมาส ในไตรมาสที่ 1 มีจำนวนแรงงาน 200 คน
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต ต้นทุนการจ้างแรงงานเพิ่ม 200 บาท/คน ต้นทุนการปลดแรงงานออก 1,000 บาท/คน ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 1 บาท/หน่วย/ไตรมาส ความสามารถในการผลิต 1,000 หน่วย/คน/ไตรมาส ในไตรมาสที่ 1 มีจำนวนแรงงาน 200 คน
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต กำหนดการผลิต (Scheduling) Scheduling เป็นการวางแผนเพื่อระบุว่างานหรือกิจกรรมใด ควรจะกระทำในเวลาใด และต้องใช้ทรัพยากรในการผลิตอย่างใด • เพื่อให้สามารถผลิตสินค้า/บริการส่งมอบให้แก่ลูกค้าได้ ภายในเวลาที่กำหนด • เพื่อให้ใช้เวลาในการผลิตและทำงานล่วงเวลาน้อยที่สุด • เพื่อให้ใช้ประโยชน์จากเครื่องจักร/แรงงานมากที่สุด • เพื่อให้มีปริมาณงานล่าช้า/งานระหว่างทำน้อยที่สุด • เพื่อให้มีเวลาสูญเปล่าในการผลิตน้อยที่สุด Scheduling เป็นการวางแผนกำลังการผลิตขั้นสุดท้าย ก่อนที่จะมีการผลิตเกิดขึ้นจริง
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต ประเภทของกำหนดการผลิต • กำหนดการผลิตตามสายงาน (Line Scheduling) • กำหนดการผลิตแบบจ๊อบซ็อบ (Job Shop Scheduling) • กำหนดการผลิตแบบโครงการ (Project Scheduling)
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต กำหนดการผลิตตามสายงาน (Line Scheduling) ในการผลิตที่เครื่องจักรสามารถทำการผลิตสินค้าได้ครั้งละ 1 ประเภทเท่านั้น เมื่อจะทำการผลิตสินค้าอื่นจะต้องมีการปรับตั้งเครื่องจักรใหม่ ดังนั้น สิ่งที่ต้องพิจารณามีดังนี้ • ปริมาณการผลิตในแต่ละครั้ง (Lot Size) โดยต้องหาปริมาณการผลิตสินค้าที่ประหยัดที่สุด - EOQ • กำหนดการผลิตของแต่ละสายงาน (Line Scheduling) โดยต้องหาว่าควรจะทำการผลิตสินค้าประเภทใด และผลิตในเวลาใด – Run-out Time
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต ปริมาณการผลิตในแต่ละครั้ง (Lot Size) Q = √(2CoD) / Cc Q = ปริมาณการสั่งสินค้า (Lot Size) Co = ต้นทุนในการสั่งผลิตสินค้าต่อครั้ง (Ordering cost per time) D = อัตราความต้องการสินค้า (Demand Rate) Cc = ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าต่อหน่วย (Carrying cost per unit)
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต กำหนดการผลิตของแต่ละสายงาน (Line Scheduling) Run-out time = สินค้าคงคลัง(Inventory) ความต้องการสินค้า(Demand) ในการตัดสินใจว่าจะทำการผลิตสินค้าประเภทใดก่อน ดูจากสินค้าใดมี run-out time ต่ำที่สุดจะทำการผลิตก่อน เพราะแสดงว่าจำนวนสินค้าคงคลังของสินค้านั้นมีน้อย เมื่อเปรียบเทียบกับความต้องการสินค้าที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต โรงงานมีการผลิตสินค้า A, BLot Size สินค้า A =3,000 หน่วยต่อครั้ง Forecast demand = 600 หน่วยต่อสัปดาห์Lot Size สินค้า B = 2,000 หน่วยต่อครั้ง Forecast demand = 300 หน่วยต่อสัปดาห์ 2,000 / 600 3.33 2.67 0+2,000 - 600 2,000 + 800 - 300 2,500 300 ในสัปดาห์ที่ 5 ท่านจะทำการผลิตสินค้าใด
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต กำหนดการผลิตแบบจ็อบซ็อบ (Job Shop Scheduling) เป็นการผลิตสินค้าหลายประเภท ที่แต่ละประเภทมีเส้นทางการผลิตที่ต่างกัน วิธีการผลิตแบบ Job Shop มี 4 ประเภท คือ • การจัดภาระงาน (Loading) • การจัดลำดับงาน (Sequencing) • การจ่ายงาน (Dispatching) • การใช้กฎของจอห์นสัน (Johnson’s rule)
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การจัดภาระงาน (Loading) เป็นการมอบหมายงานแต่ละอย่างให้เครื่องจักรและแรงงาน การจัดภาระงานมี 2 ประเภท 1. การจัดภาระงานแบบไปข้างหน้า (Forward Loading) 2. การจัดภาระงานแบบย้อนกลับ (Backward Loading)
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต Forward Loading 19 งานที่ 1 ผ่านสถานี A โดยใช้เวลาทำงานที่ A 2 ชั่วโมง ผ่านสถานี B โดยใช้เวลาทำงานที่ B 1 ชั่วโมง ผ่านสถานี C โดยใช้เวลาทำงานที่ C 4 ชั่วโมง 12 12 22 2 + 6 + 1 + 6 + 4 กำหนดให้เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายและรอคิวเข้าผลิตระหว่างสถานี = 6 ชั่วโมง A A - - - - - - B - - - - - - C CC C C CC C - - - - - - A A B B B B - - - - - - A A B B B BB - - - - - - A A - - - - - - C C C
การวางแผนกำลังการผลิตการวางแผนกำลังการผลิต Backward Loading กำหนดให้เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายและรอคิวเข้าผลิตระหว่างสถานี = 6 ชั่วโมง A A - - - - - - B - - - - - - C CC C C CC C - - - - - - A A B B B B - - - - - - A A - - - - - - B B B BB A A - - - - - - C C C
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต ให้ทำ Forward Loading, Backward Loading และ จัดลำดับงาน(Sequencing) เพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อนกันในแต่ละสถานีผลิตพร้อมทั้งให้แสดงตารางการจัดภาระงาน กำหนดให้เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายและรอคิวเข้าผลิตระหว่างสถานี = 3 ชั่วโมง
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การจัดลำดับงาน (Sequencing) เป็นการมอบหมายงานมากกว่า 1 งาน ให้กับเครื่องจักรซึ่งมีเพียง 1 เครื่อง ดังนั้นจะต้องทำการตัดสินใจว่างานใดจะทำก่อน-หลัง เพื่อให้สามารถผลิตสินค้าได้ทันตามกำหนดส่งมอบทุกงาน และเพื่อให้มีเวลาว่าง/เวลาสูญเปล่าของเครื่องจักรน้อยที่สุด วิธีการ – ทดลองจัดลำดับงานสลับกันเรื่อยๆ จนกว่าจะได้วิธีที่ทุกงาน เสร็จภายในกำหนด และมีเวลาว่างน้อยที่สุด
MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การจ่ายงาน (Dispatching) • เป็นการมอบหมายงานมากกว่า 1 งาน ให้กับเครื่องจักรซึ่งมีเพียง 1 เครื่อง ดังนั้นจะต้องทำการตัดสินใจว่างานใดจะทำก่อน-หลัง เพื่อให้สามารถผลิตสินค้าได้ทันตามกำหนดส่งมอบทุกงาน และเพื่อให้มีเวลาว่าง/เวลาสูญเปล่าของเครื่องจักรน้อยที่สุด วิธีการ – 1. ทำงานที่เข้ามาก่อนเป็นลำดับแรก (First come first served) 2. ทำงานที่ถึงกำหนดก่อน (Earliest due date) (DDATE) 3. ทำงานที่มีเวลาว่างน้อยที่สุดก่อน (Minimum slack) (SLACK) 4. ทำงานที่ใช้เวลาในการผลิตน้อยที่สุดก่อน (Shortest processing time) (SPT)
การจัดกำหนดการให้บริการการจัดกำหนดการให้บริการ • วิธีช่วยในการจัดกำหนดการผลิตของการให้บริการ • การนัดหมายล่วงหน้า (Appointments) ลูกค้าระบุถึงความต้องการที่จะใช้บริการในอนาคต :- นัดแพทย์ นิยมใช้สำหรับการให้บริการทางวิชาชีพ • การจอง (Reservations) :- จองห้องพัก เป็นการจองการใช้บริการจากสถานที่ • การสั่งย้อนหลัง (Backorders) ลูกค้ามีความต้องการที่จะใช้บริการเกิดขึ้นแล้วในปัจจุบัน แต่ผู้ให้บริการยังไม่สามารถให้บริการในเวลานั้นได้ ทำให้ลูกค้าต้องรอคิวเพื่อรับบริการในเวลาต่อมา :- การรอคิวการให้บริการของศูนย์บริการรถยนต์
MJU. Line Scheduling การวางแผนกำลังการผลิต Lot Size Forward Run-out time Backward มีเวลาว่างน้อยที่สุด ผลิตตาม สายงาน EOQ ใช้เวลาผลิตน้อยที่สุด จัดภาระงาน Loading จัดลำดับงาน Sequencing เครื่องจักรสามารถรับการผลิตสินค้าได้ครั้งละ 1 อย่าง เข้าก่อน ประเภท ของกำหนด การผลิต ถึงกำหนดก่อน ผลิตแบบ Job Shop ผลิตแบบ Project Johnson’s rule จ่ายงาน Dispatching