1 / 46

กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี

รายงานผลการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนางานด้านสุขภาพจังหวัดปทุมธานี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙. กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี.

donar
Download Presentation

กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานผลการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสุขภาพจังหวัดปทุมธานี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙ กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี

  2. การประชุมจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๕ณ ห้องประชุมศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สสจ.ปทุมธานี • กลุ่มเป้าหมาย • คณะกรรมการพิจารณาแผนยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการด้านสุขภาพจังหวัดปทุมธานี (๔๐ ท่าน) • กิจกรรม • นำเสนอกรอบการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ฯ ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๙ • ดำเนินการวิเคราะห์องค์กร (SWOT Analysis) • ทบทวนจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม

  3. ผลการดำเนินงาน SWOT

  4. ผลการดำเนินงาน

  5. ผลการดำเนินงาน

  6. ผลการดำเนินงาน

  7. การประชุมจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙ครั้งที่ ๒/๒๕๕๕ วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๕ณ ห้องประชุมศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สสจ.ปทุมธานี • กลุ่มเป้าหมาย • คณะกรรมการพิจารณาแผนยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการด้านสุขภาพจังหวัดปทุมธานี (๔๐ ท่าน) • กิจกรรม • ดำเนินการวิเคราะห์องค์กร (SWOT Analysis) • ทบทวนจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม (ต่อ)

  8. ผลการดำเนินงาน

  9. ผลการดำเนินงาน

  10. ผลการดำเนินงาน

  11. ผลการดำเนินงาน

  12. ผลการดำเนินงาน

  13. การประชุมจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙ครั้งที่ ๓/๒๕๕๕ วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๕ณ ห้องประชุมโรงแรมภูแก้วรีสอร์ท จังหวัดเพชรบูรณ์ • กลุ่มเป้าหมาย • คณะกรรมการพิจารณาแผนยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการด้านสุขภาพจังหวัดปทุมธานี และผู้เข้าร่วมการประชุม(๒๐๐ ท่าน) • กิจกรรม • ให้คะแนนผลการวิเคราะห์องค์กร (SWOT Analysis) • ทบทวนวิสัยทัศน์/ค่านิยมองค์กร

  14. ภาพกิจกรรม

  15. ภาพกิจกรรม

  16. ผลการดำเนินงาน

  17. ผลการดำเนินงาน

  18. ผลการดำเนินงาน

  19. ผลการดำเนินงาน

  20. ผลการดำเนินงาน

  21. ผลการดำเนินงาน

  22. ผลการดำเนินงาน

  23. ผลการดำเนินงาน • วิสัยทัศน์เดิมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี เป็นหน่วยงานระดับแนวหน้าของประเทศ ในการพัฒนาสุขภาพตามมาตรฐาน และมีความเหมาะสม ภาคีเครือข่ายเป็นผู้นำด้านนวตกรรมสุขภาพ สู่เป้าหมายคนปทุมธานีมีสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย • วิสัยทัศน์ที่กลุ่มเสนอ • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี เป็นหน่วยงานระดับแนวหน้าของประเทศ ในการพัฒนาสุขภาพตามมาตรฐาน และมีความเหมาะสม ส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ในภาคีเครือข่าย สู่เป้าหมายคนปทุมธานีมีสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย สู่ประชาคมอาเซียน • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี เป็นหน่วยงานที่เป็นเลิศ ในการพัฒนา เสริมสร้างสุขภาพแบบองค์รวม ตามมาตรฐาน โดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม มุ่งสู่เป้าหมายคนปทุมธานี มีสุขภาพดี วิถีชีวิตไทย

  24. ผลการดำเนินงาน • ค่านิยมเดิมตรงเวลา เต็มใจบริการ ตามมาตรฐาน ตรงตามเป้าหมาย ตรวจสอบได้ • ค่านิยมที่กลุ่มเสนอ • บริการเป็นมิตร ตรงเวลา ตรงเป้าหมาย โปร่งใส ตรวจสอบได้ • ตรงเวลา เต็มใจบริการ ตามมาตรฐาน ตรงตามเป้าหมาย ตรวจสอบได้ สร้างขวัญและกำลังใจบุคลากร

  25. การประชุมจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙ครั้งที่ ๔/๒๕๕๕ วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๕ณ ห้องประชุมศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สสจ.ปทุมธานี • กลุ่มเป้าหมาย • คณะกรรมการพิจารณาแผนยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการด้านสุขภาพจังหวัดปทุมธานี (๔๐ ท่าน) • ผู้อำนวยการโรงพยาบาล/สาธารณสุขอำเภอ ทุกท่าน (๑๕ ท่าน) • กิจกรรม • ให้น้ำหนักคะแนนเพื่อวิเคราะห์สถานะองค์กร • ทบทวนวิสัยทัศน์/ค่านิยมองค์กร • จัดทำกลยุทธ์องค์กร (TOWS Matrix)

  26. ภาพกิจกรรม

  27. ผลการดำเนินงาน

  28. สรุปผลการวิเคราะห์องค์กร -- ตั้งรับ (ST)

  29. ผลการดำเนินงาน วิสัยทัศน์มีระบบสุขภาพที่ได้มาตรฐานและ ภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง สู่เป้าหมายคนปทุมธานีสุขภาพดี คำนิยาม ระบบสุขภาพ หมายถึง ระบบทั้งมวลที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเป็นองค์รวม โดยที่สามารถส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน หรือระดับประเทศ และอาจจะต่อไปเป็นระดับโลก แล้วแต่ว่าเราจะกำหนดขอบเขตว่าเราจะพูดถึงระบบสุขภาพกว้าง/แคบแค่ไหน ทั้งนี้ก็จะรวมถึงปัจจัยที่มีผลนั้นทั้งด้านบุคคล สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม กายภาพ และชีวภาพ รวมถึงปัจจัยด้านระบบบริการสุขภาพอีกด้วย ระบบบริการสุขภาพ หมายถึง ระบบบริการต่าง ๆ ที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการดูแลสุขภาพ ทั้งทางด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่เป็นแบบผสมผสาน หรือเฉพาะด้าน เฉพาะเรื่อง ทั้งนี้หากเป็นส่วนที่รัฐจัดขึ้น สนับสนุนให้จัดขึ้น หรืออยู่ภายใต้การควบคุมกำกับของรัฐ เพื่อประชาชนโดยทั่วไป (เป็นสาธารณะ) ก็จะเรียกในส่วนนั้นว่า บริการสาธารณสุข ภาคีเครือข่าย หมายถึง หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน หรือภาคส่วนอื่นของ. สังคม ทั้งบุคคลและกลุ่มบุคคล ที่มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านสุขภาพ สุขภาพดี หมายถึง ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชาชนลดลง

  30. ค่านิยมองค์กร --- PUBLIC HEALTH • PPeople มุ่งเน้นประชาชน • UUnstable / Dynamic mgt. บริหารเชิงพลวัตร • BBehavior ปรับพฤติกรรมสุขภาพ • LLearning ใฝ่เรียนรู้ • IIntegration การบูรณาการงาน • CCo-ordination สานพลัง • HHonest ซื่อสัตย์ • EExcellence เป็นมืออาชีพ • AAccess เข้าถึงบริการ • LLeader ผู้นำด้านสุขภาพ • TTeamwork ทำงานเป็นทีม • HHealthy & Holistic สุขภาพดี บริการแบบองค์รวม

  31. กลยุทธ์ขององค์กร กลยุทธ์เชิงรุก (SO) ๑.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพประชาชนในการใช้งบประมาณกองทุนเพื่อแก้ไขปัญหาตามนโยบายสุขภาพ ๒.สนับสนุนการใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓.เสริมสร้างบุคลากรให้มีสมรรถนะตามบริบทสภาพปัญหาสุขภาพของพื้นที่ ๔.ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งแก่ภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ตั้งรับ (ST) ๑.พัฒนาระบบการทำงานแบบเครือข่าย ๒.เสริมสร้างขวัญ กำลังใจและรักษาไว้ซึ่งระบบบุคลากร ๓.สร้างความเข้าใจเรื่องสิทธิและหน้าที่ที่ประชาชนและผู้มาติดต่อพึงได้รับให้ชัดเจน ๔.ทำงานโดยเน้นประโยชน์ของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญ

  32. กลยุทธ์ขององค์กร กลยุทธ์พลิกฟื้น (WO) ๑.เชิญชวนให้ท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดหา/พัฒนาบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข ๒.ส่งเสริมให้ท้องถิ่นและภาคเอกชน มีบทบาทในการจัดบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขมากขึ้น ๓.พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดสรร ควบคุมการใช้งบประมาณให้มีประสิทธิภาพ ๔.เสริมสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) กลยุทธ์ลดทอน (WT) ๑.ลดภาระงานในโรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชนให้ใช้บริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ๒.เน้นการทำงานด้านการส่งเสริมสุขภาพเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ๓.สนับสนุนมาตรการจัดซื้อยาร่วม ๔.พัฒนาระบบสารบัญอิเลคทรอนิกส์ ๕.ลดการประชุม โดยใช้วิธีการประชุมรูปแบบอื่น เช่น วิดิโอคอนเฟอร์เรนท์ ส่งเอกสารทางเมล์ เว็ปไซด์

  33. การประชุมจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙ครั้งที่ ๕/๒๕๕๕ วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๕ณ ห้องประชุมศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สสจ.ปทุมธานี • กลุ่มเป้าหมาย • คณะกรรมการพิจารณาแผนยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการด้านสุขภาพจังหวัดปทุมธานี (๔๐ ท่าน) • ผู้อำนวยการโรงพยาบาล/สาธารณสุขอำเภอ ทุกท่าน (๑๕ ท่าน) • กิจกรรม • จัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสุขภาพจังหวัดปทุมธานี ปีงบฯ ๒๕๕๖-๒๕๕๙ • พันธกิจ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • เป้าประสงค์

  34. แบบพิจารณาทบทวนพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ และยุทธศาสตร์ แผนฯเดิม แผนฯ ๕๖-๕๙ ๑.พันธกิจ ๑.พันธกิจ • - บริหารจัดการระบบสุขภาพ • - สนับสนุนวิชาการด้านสุขภาพ • - สนับสนุนและพัฒนาบริการด้านสุขภาพ • - บริหารจัดการระบบสุขภาพ • - สนับสนุนวิชาการด้านสุขภาพ • - สนับสนุนและพัฒนาบริการด้านสุขภาพ ๒.ประเด็นยุทธศาสตร์และยุทธศาสตร์ ๒.ประเด็นยุทธศาสตร์และยุทธศาสตร์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาความเป็นเลิศทางบริหารจัดการระบบสุขภาพ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงและธรรมภิบาล • ยุทธศาสตร์ที่ 1.1 พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ • ยุทธศาสตร์ที่ 1.2 พัฒนาภาคีสุขภาพ • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การสนับสนุนและพัฒนาระบบวิชาการด้านสุขภาพ • ยุทธศาสตร์ที่ 2.1 พัฒนาขีดความสามารถและสมรรถนะของบุคลากร • ยุทธศาสตร์ที่ 2.2 สร้างความเข้มแข็งในการดูแลสุขภาพของประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3การสนับสนุนและพัฒนาบริการด้านสุขภาพ • ยุทธศาสตร์ที่ 3.1 สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการระดับบุคคลครอบครัว • และชุมชน • ยุทธศาสตร์ที่ 3.2 เสริมสร้างความเป็นผู้นำด้านสุขภาพของประชาชนให้เป็น • คนปทุมธานีสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล • ยุทธศาสตร์ที่ 1.1 พัฒนาระบบการทำงานด้านสุขภาพและการสื่อสาร • ยุทธศาสตร์ที่ 1.2 พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล • ยุทธศาสตร์ที่ 1.๓พัฒนาโครงสร้างสถานบริการและส่วนประกอบ • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การสนับสนุนการพัฒนาวิชาการและเสริมสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านสุขภาพ • ยุทธศาสตร์ที่ 2.1 ส่งเสริมและพัฒนาวิชาการ วิจัย และนวัตกรรม • ยุทธศาสตร์ที่ 2.2 พัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับภาคีเครือข่าย ในการดูแลสุขภาพของประชาชน • ยุทธศาสตร์ที่ 2.๓ เพิ่มช่องทางการสื่อสารและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ในการดูแลสุขภาพของประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3พัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพ • ยุทธศาสตร์ที่ 3.1 ยกระดับคุณภาพมาตรฐานหน่วยบริการทุกระดับ • ยุทธศาสตร์ที่ 3.2 พัฒนาระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย ให้มีประสิทธิภาพ • ยุทธศาสตร์ที่ 3.๓พัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ • ด้านการแพทย์และสาธารณสุข

  35. แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๙ มีระบบสุขภาพที่ได้มาตรฐานและภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง สู่เป้าหมายคนปทุมธานีสุขภาพดี วิสัยทัศน์ Co-ordination สานพลัง ค่านิยมร่วม (Public Health) Unstable/Dynamic mgt.บริหารเชิงพลวัตร People มุ่งเน้นประชาชน Behavior ปรับพฤติกรรม Learning ใฝ่เรียนรู้ Integration บูรณาการงาน Honest ซื่อสัตย์ Excellence เป็นมืออาชีพ Access เข้าถึงบริการ Leader ผู้นำด้านสุขภาพ Teamwork ทำงานเป็นทีม Healthy & Holistic สุขภาพดี บริการแบบองค์รวม พันธกิจ บริหารจัดการระบบสุขภาพ สนับสนุนวิชาการด้านสุขภาพ สนับสนุนและพัฒนาบริการด้านสุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล การสนับสนุนการพัฒนาวิชาการและ เสริมสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านสุขภาพ พัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ R๑ คนปทุมธานีสุขภาพดี R๔ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้องเหมาะสมและมีส่วนร่วม ในการดูแลสุขภาพตนเอง มิติประสิทธิผล R๓ ปัญหาสุขภาพที่สำคัญและภาวะแทรกซ้อนลดลง R๒ ภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง S๑ หน่วยงานภาครัฐและภาคีเครือข่าย มีระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ S๒ หน่วยบริการทุกระดับเป็นศูนย์การเรียนรู้ S๓ ประชาชนได้รับบริการสุขภาพ และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน มิติคุณภาพ M๑ มีกระบวนการบริหารจัดการระบบสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ M๒ มีกระบวนการพัฒนาศักยภาพ และช่องทางการสื่อสารและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ M๓ มีกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการ สร้างเสริมสุขภาพ ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย มิติประสิทธิภาพ C๓ พัฒนาโครงสร้างสถานบริการและส่วนประกอบ มิติพัฒนาองค์กร C๑ พัฒนาระบบการทำงานด้านสุขภาพและการสื่อสาร C๒ พัฒนาสมรรถนะบุคลากร

  36. Strategic Issue Template ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ xx ................................................................................................................ ๑.นิยามศัพท์ ๒.กลุ่มเป้าหมาย ๓.เป้าประสงค์ เจ้าภาพหลักรายประเด็นยุทธศาสตร์ประสานผู้เกี่ยวข้องร่วมกันดำเนินการโดย ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑ เจ้าภาพหลักคือ กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข/กลุ่มงานบริหาร ประเด็นยุทธศาสตร์ ๒ เจ้าภาพหลักคือ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล ประเด็นยุทธศาสตร์ ๓ เจ้าภาพหลักคือ กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพบริการ)

  37. การจัดทำเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดและเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙ แบบฟอร์มแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ xx …………………………………………………………………………………..

  38. การจัดทำคำอธิบายตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI Template) แบบฟอร์มคำอธิบายตัวชี้วัด (KPI Template)ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ xx …………………………………………………

  39. การประชุมจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙ครั้งที่ ๖/๒๕๕๕ วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๕ณ ห้องประชุมศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สสจ.ปทุมธานี • กลุ่มเป้าหมาย • คณะกรรมการพิจารณาแผนยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการด้านสุขภาพจังหวัดปทุมธานี (๔๐ ท่าน) • ผู้อำนวยการโรงพยาบาล/สาธารณสุขอำเภอ ทุกท่าน (๑๕ ท่าน) • กิจกรรม • จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสุขภาพจังหวัดปทุมธานี ประจำปีงบฯ ๕๖ • จัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนางานด้านสุขภาพจังหวัดปทุมธานี ประจำปีงบฯ ๕๖

  40. วิสัยทัศน์มีระบบสุขภาพที่ได้มาตรฐานและ ภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง สู่เป้าหมายคนปทุมธานีสุขภาพดี คำนิยาม ระบบสุขภาพ หมายถึง ระบบทั้งมวลที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเป็นองค์รวม โดยที่สามารถส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน หรือระดับประเทศ และอาจจะต่อไปเป็นระดับโลก แล้วแต่ว่าเราจะกำหนดขอบเขตว่าเราจะพูดถึงระบบสุขภาพกว้าง/แคบแค่ไหน ทั้งนี้ก็จะรวมถึงปัจจัยที่มีผลนั้นทั้งด้านบุคคล สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม กายภาพ และชีวภาพ รวมถึงปัจจัยด้านระบบบริการสุขภาพอีกด้วย ระบบบริการสุขภาพ หมายถึง ระบบบริการต่าง ๆ ที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการดูแลสุขภาพ ทั้งทางด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่เป็นแบบผสมผสาน หรือเฉพาะด้าน เฉพาะเรื่อง ทั้งนี้หากเป็นส่วนที่รัฐจัดขึ้น สนับสนุนให้จัดขึ้น หรืออยู่ภายใต้การควบคุมกำกับของรัฐ เพื่อประชาชนโดยทั่วไป (เป็นสาธารณะ) ก็จะเรียกในส่วนนั้นว่า บริการสาธารณสุข ภาคีเครือข่าย หมายถึง หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน หรือภาคส่วนอื่นของ. สังคม ทั้งบุคคลและกลุ่มบุคคล ที่มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านสุขภาพ สุขภาพดี หมายถึง ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชาชนลดลง

  41. ค่านิยมองค์กร --- PUBLIC HEALTH • PPeople มุ่งเน้นประชาชน • UUnstable / Dynamic mgt. บริหารเชิงพลวัตร • BBehavior ปรับพฤติกรรมสุขภาพ • LLearning ใฝ่เรียนรู้ • IIntegration การบูรณาการงาน • CCo-ordination สานพลัง • HHonest ซื่อสัตย์ • EExcellence เป็นมืออาชีพ • AAccess เข้าถึงบริการ • LLeader ผู้นำด้านสุขภาพ • TTeamwork ทำงานเป็นทีม • HHealthy & Holistic สุขภาพดี บริการแบบองค์รวม

  42. กลยุทธ์ขององค์กร กลยุทธ์เชิงรุก (SO) ๑.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพประชาชนในการใช้งบประมาณกองทุนเพื่อแก้ไขปัญหาตามนโยบายสุขภาพ ๒.สนับสนุนการใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓.เสริมสร้างบุคลากรให้มีสมรรถนะตามบริบทสภาพปัญหาสุขภาพของพื้นที่ ๔.ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งแก่ภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ตั้งรับ (ST) ๑.พัฒนาระบบการทำงานแบบเครือข่าย ๒.เสริมสร้างขวัญ กำลังใจและรักษาไว้ซึ่งระบบบุคลากร ๓.สร้างความเข้าใจเรื่องสิทธิและหน้าที่ที่ประชาชนและผู้มาติดต่อพึงได้รับให้ชัดเจน ๔.ทำงานโดยเน้นประโยชน์ของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญ

  43. กลยุทธ์ขององค์กร กลยุทธ์พลิกฟื้น (WO) ๑.เชิญชวนให้ท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดหา/พัฒนาบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข ๒.ส่งเสริมให้ท้องถิ่นและภาคเอกชน มีบทบาทในการจัดบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขมากขึ้น ๓.พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดสรร ควบคุมการใช้งบประมาณให้มีประสิทธิภาพ ๔.เสริมสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) กลยุทธ์ลดทอน (WT) ๑.ลดภาระงานในโรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชนให้ใช้บริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ๒.เน้นการทำงานด้านการส่งเสริมสุขภาพเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ๓.สนับสนุนมาตรการจัดซื้อยาร่วม ๔.พัฒนาระบบสารบัญอิเลคทรอนิกส์ ๕.ลดการประชุม โดยใช้วิธีการประชุมรูปแบบอื่น เช่น วิดิโอคอนเฟอร์เรนท์ ส่งเอกสารทางเมล์ เว็ปไซด์

  44. พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ และยุทธศาสตร์ ๑.พันธกิจ • - บริหารจัดการระบบสุขภาพ • - สนับสนุนวิชาการด้านสุขภาพ • - สนับสนุนและพัฒนาบริการด้านสุขภาพ ๒.ประเด็นยุทธศาสตร์และยุทธศาสตร์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล • ยุทธศาสตร์ที่ 1.1 พัฒนาระบบการทำงานด้านสุขภาพและการสื่อสาร • ยุทธศาสตร์ที่ 1.2 พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล • ยุทธศาสตร์ที่ 1.๓พัฒนาโครงสร้างสถานบริการและส่วนประกอบ • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การสนับสนุนการพัฒนาวิชาการและเสริมสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านสุขภาพ • ยุทธศาสตร์ที่ 2.1 ส่งเสริมและพัฒนาวิชาการ วิจัย และนวัตกรรม • ยุทธศาสตร์ที่ 2.2 พัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับภาคีเครือข่าย ในการดูแลสุขภาพของประชาชน • ยุทธศาสตร์ที่ 2.๓ เพิ่มช่องทางการสื่อสารและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ในการดูแลสุขภาพของประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3พัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพ • ยุทธศาสตร์ที่ 3.1 ยกระดับคุณภาพมาตรฐานหน่วยบริการทุกระดับ • ยุทธศาสตร์ที่ 3.2 พัฒนาระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย ให้มีประสิทธิภาพ • ยุทธศาสตร์ที่ 3.๓พัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ • ด้านการแพทย์และสาธารณสุข

  45. แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๙ มีระบบสุขภาพที่ได้มาตรฐานและภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง สู่เป้าหมายคนปทุมธานีสุขภาพดี วิสัยทัศน์ Co-ordination สานพลัง ค่านิยมร่วม (Public Health) Unstable/Dynamic mgt.บริหารเชิงพลวัตร People มุ่งเน้นประชาชน Behavior ปรับพฤติกรรม Learning ใฝ่เรียนรู้ Integration บูรณาการงาน Honest ซื่อสัตย์ Excellence เป็นมืออาชีพ Access เข้าถึงบริการ Leader ผู้นำด้านสุขภาพ Teamwork ทำงานเป็นทีม Healthy & Holistic สุขภาพดี บริการแบบองค์รวม พันธกิจ บริหารจัดการระบบสุขภาพ สนับสนุนวิชาการด้านสุขภาพ สนับสนุนและพัฒนาบริการด้านสุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล การสนับสนุนการพัฒนาวิชาการและ เสริมสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านสุขภาพ พัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ R๑ คนปทุมธานีสุขภาพดี R๔ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้องเหมาะสมและมีส่วนร่วม ในการดูแลสุขภาพตนเอง มิติประสิทธิผล R๓ ปัญหาสุขภาพที่สำคัญและภาวะแทรกซ้อนลดลง R๒ ภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง S๑ หน่วยงานภาครัฐและภาคีเครือข่าย มีระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ S๒ หน่วยบริการทุกระดับเป็นศูนย์การเรียนรู้ S๓ ประชาชนได้รับบริการสุขภาพ และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน มิติคุณภาพ M๑ มีกระบวนการบริหารจัดการระบบสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ M๒ มีกระบวนการพัฒนาศักยภาพ และช่องทางการสื่อสารและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ M๓ มีกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการ สร้างเสริมสุขภาพ ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย มิติประสิทธิภาพ C๓ พัฒนาโครงสร้างสถานบริการและส่วนประกอบ มิติพัฒนาองค์กร C๑ พัฒนาระบบการทำงานด้านสุขภาพและการสื่อสาร C๒ พัฒนาสมรรถนะบุคลากร

More Related