1 / 13

เราจะทำงานยุ่งยากขึ้นหรือเปล่า ? เราจะทำงานได้ง่ายขึ้นอย่างไร ?

เราจะทำงานยุ่งยากขึ้นหรือเปล่า ? เราจะทำงานได้ง่ายขึ้นอย่างไร ? เรามีความเสี่ยงที่จะทำผิดกฎหมายหรือไม่ ? เราได้รับความคุ้มครองมากขึ้นอย่างไร ? เราจะเสียประโยชน์อะไรหรือไม่ ? ผู้ป่วยจะได้รับประโยชน์มากขึ้นอย่างไร ?. พระราชบัญญัติสุขภาพจิตพ.ศ.๒๕๕๑. หมวด 1 คณะกรรมการ

dolan
Download Presentation

เราจะทำงานยุ่งยากขึ้นหรือเปล่า ? เราจะทำงานได้ง่ายขึ้นอย่างไร ?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เราจะทำงานยุ่งยากขึ้นหรือเปล่า?เราจะทำงานยุ่งยากขึ้นหรือเปล่า? เราจะทำงานได้ง่ายขึ้นอย่างไร? เรามีความเสี่ยงที่จะทำผิดกฎหมายหรือไม่? เราได้รับความคุ้มครองมากขึ้นอย่างไร? เราจะเสียประโยชน์อะไรหรือไม่? ผู้ป่วยจะได้รับประโยชน์มากขึ้นอย่างไร?

  2. พระราชบัญญัติสุขภาพจิตพ.ศ.๒๕๕๑พระราชบัญญัติสุขภาพจิตพ.ศ.๒๕๕๑ • หมวด 1 คณะกรรมการ • คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ • คณะกรรมการสถานบำบัดรักษา • หมวด 2 สิทธิผู้ป่วย • หมวด 3 การบำบัดรักษาทางสุขภาพจิต • ผู้ป่วย • ผู้ป่วยคดี • การฟื้นฟูสมรรถภาพ • หมวด 4 การอุทธรณ์ • หมวด 5 พนักงานเจ้าหน้าที่ • หมวด 6 บทกำหนดโทษ

  3. มาตรา 22 • บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้เป็นบุคคลที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา • 1. มีภาวะอันตราย • 2.มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา

  4. มาตรา 27 • ให้แพทย์อย่างน้อยหนึ่งคนและพยาบาลอย่างน้อยหนึ่งคนที่ประจำสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบำบัดรักษา ตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้นบุคคลที่มีการนำส่งตามมาตรา 24,25หรือ 26ให้แล้วเสร็จโดยไม่ชักช้า ทั้งนี้ต้องไม่เกินสี่สิบแปดชั่วโมง....

  5. มาตรา 28 (กรณีแพทย์พบเอง,รักษาอยู่เดิมแล้ว) • กรณีที่แพทย์ตรวจพบว่าบุคคลใดมีลักษณะตามมาตรา ๒๒ ให้ส่งตัวบุคคลนั้นพร้อมกับรายงานผลการตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้น เพื่อเข้ารับการตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการโดยละเอียดตามมาตรา ๒๙ และให้นำความในมาตรา ๒๗ วรรคสองและวรรคสี่มาใช้บังคับโดยอนุโลม

  6. มาตรา 29 • เมื่อสถานบำบัดรักษารับบุคคลที่พนักงานเจ้าหน้าที่นำส่งตามมาตรา ๒๗ วรรคสาม หรือแพทย์นำส่งตามมาตรา ๒๘ แล้วแต่กรณี ให้คณะกรรมการสถานบำบัดรักษาตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการบุคคลนั้นโดยละเอียดภายในสามสิบวันนับแต่วันที่รับตัวบุคคลนั้นไว้ ในกรณีที่คณะกรรมการสถานบำบัดรักษาเห็นว่าบุคคลนั้นมีลักษณะตามมาตรา ๒๒ ให้มีคำสั่งอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ • (๑) ให้บุคคลนั้นต้องเข้ารับการบำบัดรักษาในสถานบำบัดรักษา • (๒) ให้บุคคลนั้นต้องรับการบำบัดรักษา ณ สถานที่อื่นนอกจากสถานบำบัดรักษาเมื่อบุคคลนั้นไม่มีภาวะอันตราย ทั้งนี้ จะกำหนดเงื่อนไขใด ๆ ที่จำเป็นเกี่ยวกับการบำบัดรักษาให้บุคคลนั้นหรือผู้รับดูแลบุคคลนั้นต้องปฏิบัติด้วยก็ได้

  7. สถานบำบัดรักษา(ทางสุขภาพจิต)สถานบำบัดรักษา(ทางสุขภาพจิต) • คณะกรรมการสถานบำบัดตรวจวินิจฉัย / ประเมินอาการโดยละเอียด • ภายใน 30 วัน นับแต่รับตัวไว้ • คำสั่งบำบัดรักษา หรือ การปล่อยตัว

  8. บังคับรักษาเป็นผู้ป่วยในบังคับรักษาเป็นผู้ป่วยใน รักษาด้วยวิธีอื่น

  9. มาตรา 31(การจำหน่ายและติดตาม) • ในระหว่างการบำบัดรักษาตามมาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง เมื่อแพทย์ผู้บำบัดรักษาเห็นว่า ผู้ป่วยได้รับการบำบัดรักษาจนความผิดปกติทางจิตหายหรือทุเลาและผู้ป่วยไม่มีภาวะอันตรายแล้วให้แพทย์จำหน่ายผู้ป่วยดังกล่าวออกจากสถานพยาบาลและรายงานผลการบำบัดรักษาและการจำหน่ายผู้ป่วยให้คณะกรรมการสถานบำบัดรักษาทราบโดยไม่ชักช้า ทั้งนี้ ให้แพทย์ติดตามผลการบำบัดรักษาเป็นระยะ • หลักเกณฑ์และวิธีการในการรายงานผลการบำบัดรักษา การจำหน่ายผู้ป่วยและการติดตามผลการบำบัดรักษาตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด(แบบบันทึกการติดตามผลการบำบัดรักษา)

  10. ข้อใดจะช่วยให้ท่านปฏิบัติตาม พ.ร.บ.สุขภาพจิตแห่งชาติได้ดีที่สุด • ก. มีความเข้าใจในมาตราต่างๆของ พ.ร.บ.อย่างดี • ข. มีทัศนคติที่ดีในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชและครอบครัว • ค. มีความรู้และทักษะในการประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช • ง. มีความรู้และทักษะในการดูแลรักษาผู้ป่วยทางจิตเวช • จ. ถูกทุกข้อ

  11. MAD but notBAD

More Related