1 / 13

วิชา การจัดตั้งสถานประกอบการและกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา

วิชา การจัดตั้งสถานประกอบการและกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา. บทที่ ๔ การ จัดตั้งโรงงาน. นาย ชัช ชาย พาอ้อ นิ ติศาสตร บัณฑิต ( น.บ .) แผนกวิชาพื้นฐานธุรกิจ Web : Krupone.mvc.ac.th. การขออนุญาตเกี่ยวกับโรงงานอุตสาหกรรม. ติดต่อได้ที่ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่.

doctor
Download Presentation

วิชา การจัดตั้งสถานประกอบการและกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชา การจัดตั้งสถานประกอบการและกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา บทที่ ๔ การจัดตั้งโรงงาน นายชัชชาย พาอ้อ นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) แผนกวิชาพื้นฐานธุรกิจ Web : Krupone.mvc.ac.th

  2. การขออนุญาตเกี่ยวกับโรงงานอุตสาหกรรมการขออนุญาตเกี่ยวกับโรงงานอุตสาหกรรม ติดต่อได้ที่ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่ 76 จังหวัด ติดต่อได้ที่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรุงเทพฯ ติดต่อได้ที่ การนิคมอุตสาหกรรม เขตอุตสาหกรรม

  3. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 นิยามเกี่ยวกับ “โรงงาน” อาคาร สถานที่ หรือ ยานพาหนะ • ใช้เครื่องจักร ตั้งแต่ 5 แรงม้า ขึ้นไป • ใช้คนงาน ตั้งแต่ 7 คน ขึ้นไป สำหรับทำ ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลำเลียง เก็บรักษา หรือทำลาย

  4. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 นิยามเกี่ยวกับ “โรงงาน” ต้องอยู่ในประเภท หรือชนิดของโรงงานที่กำหนดในกฎกระทรวง (บัญชีท้ายกฎกระทรวง พ.ศ.2535-107 ประเภท) อาทิ โรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูป ลำดับที่ 28 (1) โรงงานทำเครื่องเรือน เครื่องตบแต่งภายในอาคารจากไม้ ลำดับที่ 37 โรงงานทำกระดาษสา ลำดับที่ 38 (1)

  5. โรงงานมี 3 จำพวก ได้แก่โรงงาน ประเภท ชนิด และขนาด ที่สามารถประกอบกิจการโรงงานได้ทันที ตามความประสงค์ของผู้ประกอบกิจการโรงงาน จำพวกที่ 1 ได้แก่โรงงาน ประเภท ชนิด และขนาด ที่เมื่อจะประกอบกิจการโรงงาน ต้องแจ้งผู้อนุญาตทราบก่อน จำพวกที่ 2 ได้แก่โรงงาน ประเภท ชนิด และขนาด ที่การตั้งโรงงานจะต้องได้รับใบอณุญาตก่อน จึงจะดำเนินการได้ จำพวกที่ 3

  6. โรงงานมี 3 จำพวก โดยทั่วไป => เครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า หรือคนงานไม่เกิน 20 คน จำพวกที่ 1 โดยทั่วไป => เครื่องจักรไม่เกิน 50 แรงม้า หรือคนงานไม่เกิน 50 คน และไม่จำกัดอยู่ในจำพวกที่ 1 จำพวกที่ 2 โดยทั่วไป => เครื่องจักรเกิน 50 แรงม้า หรือคนงานเกิน 50 คน จำพวกที่ 3

  7. กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตามความใน พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 ที่ตั้ง สภาพแวดล้อม ลักษณะอาคารและลักษณะภายในโรงงาน ห้ามตั้งโรงงานจำพวกที่ 1 และ 2 • ในบริเวณ บ้านจัดสรรเพื่อการพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย และบ้านแถวเพื่อการพักอาศัย • ภายในระยะ 50 เมตร จากเขตติดต่อสาธารณะสถาน อาทิ โรงเรียน สถาบันการศึกษา วัด ศาสนสถาน โรงพยาบาล โบราณสถาน สถานที่ทำการงานของหน่วยงานของรัฐ

  8. ห้ามตั้งโรงงานจำพวกที่ 3 • ในบริเวณ บ้านจัดสรรเพื่อการพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย และบ้านแถวเพื่อการพักอาศัย • ภายในระยะ 100 เมตร จากเขตติดต่อสาธารณะสถาน อาทิ โรงเรียน สถาบันการศึกษา วัด ศาสนสถาน โรงพยาบาล โบราณสถาน สถานที่ทำการงานของหน่วยงานของรัฐ • ต้องอยู่ในทำเลและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม มีบริเวณเพียงพอ ตามขนาดและประเภทหรือชนิดของโรงงาน โดยไม่ก่อให้เกิดอันตราย เหตุรำคาญหรือความเสียหายต่อบุคคลหรือทรัพย์สิน

  9. ลักษณะอาคารและลักษณะภายในโรงงานลักษณะอาคารและลักษณะภายในโรงงาน • อาคารโรงงานต้องมั่นคง แข็งแรง เหมาะสมและมีบริเวณเพียงพอที่จะประกอบกิจการอุตสาหกรรม โดยมีคำรับรองของวิศวกร • มีการระบายอากาศที่เหมาะสม โดยให้มีพื้นที่ประตู หน้าต่าง ช่องลม รวมกันไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ส่วนของพื้นที่ของห้อง หรือมีการระบายอากาศไม่น้อยกว่า 0.5 ลูกบาศก์เมตร ต่อคนงานหนึ่งคน • มีประตูหรือทางออกให้พอกับจำนวนคนในโรงงานที่จะหลบหนีภัย อย่างน้อยสองแห่งอยู่ห่างกันพอควร บานประตูเปิดออกได้ง่าย มีขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 110 เซนติเมตร สูงไม่น้อยกว่า 200 เซนติเมตร ถ้ามีคนในโรงงานที่จะต้องออกตามทางนี้มากกว่า 50 คน ต้องมีขนาดกว้างเพิ่มขึ้น 2 เซนติเมตรต่อหนึ่งคน และมีบันไดระหว่างชั้นอย่างน้อยสองแห่งอยู่ห่างกันพอควร

  10. บันไดต้องมั่นคง แข็งแรง มีลักษณะ ขนาด และจำนวนที่เหมาะสมกับอาคารโรงงานและการประกอบกิจการอุตสาหกรรม ขั้นบันไดต้องไม่ลื่นและมีช่วงระยะเท่ากันโดยตลอด บันไดหรือพื้นทางเดินที่อยู่สูงจากระดับพื้นตั้งแต่ 1.50 เมตร ขึ้นไป ต้องมีราวที่มั่นคง แข็งแรง และเหมาะสม • ระยะดิ่งระหว่างพื้นถึงเพดานโดยเฉลี่ยต้องไม่น้อยกว่า 3.0 เมตร เว้นแต่จะมีระบบปรับอากาศหรือระบายอากาศที่เหมาะสม แต่ระยะดิ่งต้องไม่น้อยกว่า 2.3 เมตร • พื้นต้องมั่นคง แข็งแรง ไม่มีน้ำขัง หรือลื่น • บริเวณหรือห้องทำงานต้องมีพื้นที่ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 3 ตารางเมตรต่อคนงานหนึ่งคน • มีห้องส้วม ที่ปัสสาวะ และสถานที่ทำความสะอาดร่างกาย

  11. มลพิษจากการประกอบกิจการโรงงานมลพิษจากการประกอบกิจการโรงงาน ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (2539) * น้ำ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2548 * อากาศ * สิ่งปฏิกูล วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548 น้ำ

  12. มลพิษจากการประกอบกิจการโรงงานมลพิษจากการประกอบกิจการโรงงาน ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดค่าระดับเสียงการรบกวนและระดับเสียงที่เกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน พ.ศ.2548 * เสียง กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานและวิธีการตรวจสอบกลิ่นในอากาศจากโรงงาน พ.ศ. 2548 * กลิ่น

  13. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • ทางตรง • พระราชบัญญัติโรงงาน • พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย • ทางอ้อม • พระราชบัญญัติการผังเมือง • พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร • พระราชบัญญัติการสาธารณสุข • พระราชบัญญัติส่งเสริมรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

More Related