1 / 187

(ICD-10-TM for PCU ) กาฬสินธุ์

การอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฐมภูมิ. ในการให้รหัสโรคตามมาตรฐาน ICD-10. (ICD-10-TM for PCU ) กาฬสินธุ์. นายแพทย์สุ รพงษ์ ลักษวุธ นายแพทย์ชำนาญการ โรงพยาบาลหนอง กุง ศรี. ประเภทของข้อมูล 18 แฟ้ม. แฟ้มข้อมูลสะสม 1.PERSON 2.CARD 3.DEATH 4.CHRONIC 5.WOMEN 6.HOME 7.PP 8.MCH.

djohnson
Download Presentation

(ICD-10-TM for PCU ) กาฬสินธุ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฐมภูมิการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฐมภูมิ ในการให้รหัสโรคตามมาตรฐาน ICD-10 (ICD-10-TM for PCU) กาฬสินธุ์ นายแพทย์สุรพงษ์ลักษวุธ นายแพทย์ชำนาญการ โรงพยาบาลหนองกุงศรี

  2. ประเภทของข้อมูล 18 แฟ้ม แฟ้มข้อมูลสะสม 1.PERSON 2.CARD 3.DEATH 4.CHRONIC 5.WOMEN 6.HOME 7.PP 8.MCH แฟ้มข้อมูลบริการ 1.SERVICE 2.DIAG 3.PROCED 4.NUTRI 5.SURVEIL 6.APPOINT 7.DRUG 8.EPI 9.FP 10.ANC

  3. ขอบเขตเนื้อหา 1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับรหัสโรค ICD-10-TM 2. หลักการจัดรหัส ICD-10 3. คำและสัญลักษณ์ที่พบในหนังสือ ICD-10-TM for PCU4. การใช้หนังสือ ICD-10-TM for PCU เล่มที่ 2 (ดรรชนี) - โครงสร้าง - การใช้ดรรชนีในการให้รหัสโรคทั่วไป และฝึกปฏิบัติ - การใช้ดรรชนีตารางโรคเนื้องอก/มะเร็ง - การใช้ดรรชนีในการให้รหัสสาเหตุภายนอก และฝึกปฏิบัติ - การใช้ดรรชนีตารางยา และฝึกปฏิบัติ5. การใช้หนังสือ ICD-10-TM for PCU เล่มที่ 1 (บัญชีจำแนกรหัสโรค)- โครงสร้าง- รหัสสถานที่เกิดเหตุ- รหัสกิจกรรม 6. ฝึกปฏิบัติการเตรียมข้อมูลและการให้รหัส ICD-10-TM for PCU

  4. วัตถุประสงค์ 1. เข้าใจหลักการให้รหัส ICD-10-TM for PCU2. ให้รหัสได้ครบถ้วน ถูกต้อง กิจกรรม 1. พื้นฐานการให้รหัส ICD-10-TM for PCU2. ฝึกปฏิบัติ 13. การเตรียมข้อมูลผู้ป่วยและการให้รหัส ICD-10-TM for PCU4. ฝึกปฏิบัติ 2

  5. ICD ย่อมาจากอะไร ICD International Statistical Classification of Diseases and related Health Problems บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ

  6. ICD-10 • เป็นระบบการจัดหมวดหมู่ของความเจ็บป่วย (โรค, การบาดเจ็บ) รวมทั้งปัญหาสุขภาพอื่นๆ โดยกำหนดรหัสแทนการเรียกชื่อโรค • ใช้ในการรวบรวมข้อมูลความเจ็บป่วย เพื่อประโยชน์ทางระบาดวิทยา และการบริหารด้านสุขภาพ • องค์การอนามัยโลก ใช้เป็นเครื่องมือหลักเพื่อจัดเก็บ, บันทึกข้อมูล และจัดทำเป็นสถิติการเจ็บป่วย/ตายของประชากรโลก

  7. ICD-10 มีประโยชน์อย่างไร ICD-10 • ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในด้าน • ระบาดวิทยา • เวชสถิติ • ระบบเวชสารสนเทศ • การวางแผนยุทธศาสตร์ • การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล

  8. ICD ฉบับที่เกี่ยวข้อง ICD-10 WHO10th Revision of ICD ICD-10-TMThai modification of ICD-10 ICD-10-TM for PCUThai modification of ICD-10 for Primary Care Unit

  9. ICD-10-TM for PCU เล่ม 1 = รหัส เล่ม 2= ดรรชนี เล่ม 3= ทฤษฎี/แบบฝึกหัด

  10. การให้รหัสโรค ICD-10-TM for PCU ICD-10-TM for PCU เป็นชุดของรหัสโรค ที่ได้มาจากการคัดเลือกรหัสบางรายการมาจากรหัสทั้งหมดใน International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems, 10th Revision (ICD-10/WHO) , ICD-10-TM (Thai Modification) โดยพิจารณาเลือกเฉพาะรหัสการวินิจฉัยโรค ภาวะ และ อาการที่ซึ่งน่าจะพบได้ในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิ (Primary Care Unit) ตัดรหัสโรคที่ไม่พบหรือพบได้น้อยในประเทศไทย และรหัสโรคที่สลับซับซ้อนออกไป เหลือเพียงรหัสส่วนน้อยมา เพื่อใช้เป็นชุดรหัสที่เหมาะสมกับการใช้งานในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิ ให้ใช้งานง่ายกว่าการใช้รหัส ICD-10-TM ทั้งหมด

  11. ลักษณะของรหัส ICD-10-TM & for PCU เป็นรหัสตัวอักษรผสมตัวเลข (AlphaNumeric) แต่ละรหัสขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ ตั้งแต่ Aถึง Zตามด้วยเลขอารบิก 3 – 6 หลัก การนับ นับตัวอักษรเป็นหลักที่ 1 ระหว่างหลักที่ 3 และ 4 มีจุดคั่น เช่นR56.0การชักจากไข้สูง การคีย์ข้อมูล ระวัง I > 1, O > 0, Z > 2

  12. ลักษณะของรหัส ICD-10-TM for PCU English มีจุดคั่นหลักที่ 3 กับ 4A09 (หลักไม่มีจุด)K59.0V28.42S42.209 A09 Diarrhoea and gastroenteritis of presumed infectious origin K59.0 ConstipationV28.42 Motorcycle rider injured in noncollision transport accident during back from workS42.209Closed fracture of proximal humerus, unspecified 3 4 5 6 Thai 3 A09 ท้องร่วงK59.0 ท้องผูกV28.42 ขับมอเตอร์ไซค์ล้มเองขณะไปทำงานS42.209 กระดูกต้นแขนปลายบนหักแบบปิด 4 5 6

  13. หลักการจัดรหัส ICD-10 โรคและปัญหาสุขภาพในมนุษย์ จัดขั้นที่ 1 ตามลักษณะผู้ป่วย หญิงตั้งครรภ์, คลอดบุตร หรือหลังคลอด P O ทารกแรกเกิด อายุ 28 วัน บุคคลอื่น

  14. หลักการจัดรหัส ICD-10 บุคคลอื่น จัดขั้นที่ 2 ตามสาเหตุ C, D A, B โรคติดเชื้อ เนื้องอก-มะเร็ง Q S, T พิการแต่กำเนิด การบาดเจ็บ สาเหตุอื่น

  15. หลักการจัดรหัส ICD-10 สาเหตุอื่น จัดขั้นที่ 3 ตามระบบอวัยวะ D50-D89 โรคเลือด หัวใจและหลอดเลือด I J E โรคต่อมไร้ท่อ ระบบหายใจ K F โรคจิต ระบบทางเดินอาหาร โรคผิวหนัง L G ระบบประสาท M กระดูกและกล้ามเนื้อ โรคตา H00-H59 โรคหู คอ จมูก ปัสสาวะและสืบพันธุ์ N H60-H95 กรณีอื่น

  16. หลักการจัดรหัส ICD-10 กรณีอื่น R วินิจฉัยโรคไม่ได้ บริการสุขภาพ Z รหัสพิเศษ U สาเหตุภายนอก V, W, X, Y

  17. การจัดบทของรหัส ICD - 10 บทที่ 1 โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค ( A00 – B99 ) บทที่ 2 เนื้องอก มะเร็ง ( C00 – D 48 ) บทที่ 3 โรคเลือดและอวัยวะสร้างเลือด ( D50 – D89 ) บทที่ 4 โรคของต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตาบอลิซึม ( E00 – E90 ) บทที่ 5 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม ( F00 – F99 ) บทที่ 6 โรคของระบบประสาท ( G00 – G99 ) บทที่ 7 โรคของตาและอวัยวะเคียงตา ( H00 – H59)

  18. การจัดบทของรหัส ICD - 10 บทที่ 8 โรคของหูและปมกระดูกกกหู ( H60 – H95) บทที่ 9 โรคระบบไหลเวียนโลหิต ( I00 – I99) บทที่ 10 โรคของระบบหายใจ ( J00 – J99 ) บทที่ 11 โรคของระบบย่อยอาหาร ( K00 – K93) บทที่ 12 โรคของผิวหนังละเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง ( L00 – L99) บทที่ 13 โรคของระบบกล้ามเนื้อ ( M00 – M99) บทที่ 14 โรคของระบบสืบพันธุ์และระบบปัสสาวะ ( N00 – N99)

  19. การจัดบทของรหัส ICD - 10 บทที่ 15 การตั้งครรภ์ การคลอดและระยะหลังคลอด ( O00 – O99) บทที่ 16 ภาวะบางสิ่งที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิด (P00 – P96 ) บทที่ 17 ความผิดปกติแต่กำเนิด ( Q00 – Q99) บทที่ 18 อาการและอาการแสดงผิดปกติ ( R00 – R99) บทที่ 19 การบาดเจ็บ การเป็นพิษ ( S00 – T98) บทที่ 20 สาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บและการตาย ( V01 – Y98) บทที่ 21 ปัจจัยที่มีผลต่อสถานะสุขภาพและการรับบริการสุขภาพ (Z00 – Z99)

  20. เครื่องมือมาตรฐานในการให้รหัสเครื่องมือมาตรฐานในการให้รหัส • ในปัจจุบัน เครื่องมือมาตรฐาน คือ หนังสือชุด ICD-10 หรือ ICD-10-TM หรือ ICD-9-CM • ควรหลีกเลี่ยงการใช้เครื่องมือคุณภาพต่ำ เช่น โพยส่วนตัว หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ไม่สมบูรณ์

  21. ICD-10 ไม่เหมือนรหัสไปรษณีย์ หนึ่งโรค อาจมีหลายชื่อ หนึ่งโรค อาจตรงกับหนึ่งรหัส หนึ่งโรค อาจตรงกับหลายรหัส หนึ่งรหัส อาจตรงกับหลายโรค คอมพิวเตอร์อาจช่วยค้นหากลุ่มรหัสที่มีความเป็นไปได้ แต่ คน ต้องช่วยคิดเลือกรหัสที่ถูกต้อง

  22. คำถามที่ถามกันบ่อย โรค . . . . ให้รหัสอะไร ?

  23. คำตอบที่ตอบกันบ่อย วินิจฉัยอย่างไร ก็ให้รหัสไปตามนั้น

  24. ใส่รหัสให้ถูกที่

  25. แนวทางมาตรฐานการให้รหัส ICD สำหรับผู้ป่วยนอกที่มารับบริการในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิ ประเทศไทย ส่วนที่ 1 การเตรียมข้อมูลผู้ป่วยก่อนการให้รหัส ส่วนที่ 2 แนวทางการให้รหัสผู้ป่วยกรณีต่างๆ ส่วนที่ 3 การเลือกรหัสโรคอื่น และรหัสอื่นๆ

  26. ส่วนที่ 1 การเตรียมข้อมูลผู้ป่วยก่อนการให้รหัส ข้อมูลผู้ป่วย : อายุ เพศ การตั้งครรภ์หรือ สิ้นสุดการตั้งครรภ์ไม่เกิน 6 สัปดาห์ บริการที่ผู้ป่วยร้องขอ ( 2.1ผู้มารับบริการส่งเสริมสุขภาพ 2.2 ผู้มารับบริการบำบัดรักษาอกการเจ็บป่วย 2.3. บริการดุแลหลังการรักษานัดติดตาม 2.4 ส่งต่อ ออกใบรับรอง บริการรายบุคคลด้านอื่น ๆ) ประวัติการเจ็บป่วย

  27. ส่วนที่ 2 แนวทางการให้รหัสผู้ป่วยกรณีต่างๆ • กรณีที่ 1 การให้บริการผู้ที่มาขอรับบริการส่งเสริมสุขภาพ • กรณีที่ 2 การให้บริการบำบัดรักษาโรค • กรณีที่ 3 การให้บริการผู้ป่วยหลังได้รับการรักษาหรือผู้ป่วยที่นัดหมายไว้ ล่วงหน้า • กรณีที่ 4 การให้บริการส่งต่อออกใบรับรองและบริการอื่นๆ

  28. ส่วนที่ 3 การเลือกรหัสโรคและรหัสอื่นๆ 1.กรณีผู้ป่วยมาเพื่อบำบัดรักษาโรค ให้รหัสที่เป็นเหตุให้มาในครั้งนี้เป็นรหัสหลัก 2.กรณีผู้ป่วยมีหลายโรค ให้เลือกโรคที่มีอาการหนักกว่าโรคอื่นมาลงรหัสเป็นรหัสหลัก 3.กรณีผู้ป่วยบาดเจ็บ ให้เลือกตำแหน่งการบาดเจ็บที่หนักกว่าตำแหน่งอื่นเป็นรหัสหลัก 4.กรณีผู้ป่วยมารับบริการส่งเสริมสุขภาพ หรือบริการอื่นๆ ให้รหัสบริการที่สำคัญที่สุดเป็นรหัสหลัก รหัสในกลุ่ม Z00 – Z 99 5. กรณีผู้ป่วยมาตามนัดไว้ล่วงหน้า แต่ตรวจพบว่าเกิดโรคใหม่ ให้พิจารณาเสมือนผู้ป่วยมาเพื่อบำบัดรักษาโรคใหม่นั้น

  29. รหัสสำหรับผู้ป่วยนอก

  30. อาการ และ อาการแสดง

  31. ตัวอย่างรหัสอาการ และ อาการแสดง

  32. ตัวอย่างรหัสอาการ และ อาการแสดง

  33. รหัสการตรวจ ใช้เป็นรหัสการวินิจฉัยหลักเมื่อตรวจไม่พบความผิดปกติ

  34. รหัสการให้บริการ

  35. ตัวอย่าง:ผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูงและเป็นเบาหวานมา 10 ปี ถ่ายเหลว 5 ครั้งหลังทานส้มตำปูดอง ตรวจพบว่ามีภาวะขาดน้ำ วินิจฉัยว่าท้องร่วง จึงให้น้ำเกลือ ระหว่างอยู่ใน สอ. ลื่นหกล้มขณะไปห้องน้ำ แขนซ้ายหัก ต้องส่งต่อ การวินิจฉัยหลัก คือ (a) ความดันโลหิตสูง (b) เบาหวาน (c) ถ่ายเหลว (e) ภาวะขาดน้ำ (f) ท้องร่วง (g) แขนซ้ายหัก 

  36. ตัวอย่าง:ผู้ป่วยเมา ขับมอเตอร์ไซค์ชนเสาไฟฟ้า ตรวจพบแผลยาว 5 ซ.ม.ที่หน้าผาก รอยสักรูปงูจงอางที่กลางหลัง หัวเข่าทั้งสองข้างถลอก กางเกงขาด มารับบริการเย็บแผลและทำความสะอาดบาดแผล แล้วฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก การวินิจฉัยหลัก คือ (a) เมา (b) ขับมอเตอร์ไซค์ชนเสาไฟฟ้า (c) แผลยาว 5 ซ.ม.ที่หน้าผาก (d) รอยสักรูปงูจงอางที่กลางหลัง (e) หัวเข่าซ้ายถลอก (f) หัวเข่าขวาถลอก (g) กางเกงขาด (h) บาดทะยัก 

  37. พักกินข้าวกันเถอะพี่น้องพักกินข้าวกันเถอะพี่น้อง

  38. คำและสัญญลักษณ์

  39. กลุ่มรหัสและสมาชิกกลุ่มกลุ่มรหัสและสมาชิกกลุ่ม  ในกลุ่มรหัสที่มีสมาชิกกลุ่ม ให้ใช้รหัสสมาชิกกลุ่มเท่านั้น ห้ามใช้รหัสกลุ่ม จะมีสีดำป้ายที่เลขรหัสกลุ่ม แสดงว่าเป็นรหัสที่งดใช้ เช่น Abdominal and pelvic pain R10 R10.0 Acute abdomen R10.1 Pain localized to upper abdomen R10.2 Pelvic and perineal pain R10.3 Pain localized to other part of abdomen R10.4 Other and unspecified abdominal pain ตัวอย่าง รหัส V00 – Y98

  40. Inclusion และ exclusion • คำว่า Include(รวม)และ Exclude(ไม่รวม)ใช้ระบุว่าแต่ละรหัสหรือกลุ่มรหัสรวมถึงหรือไม่รวมถึงโรคหรือภาวะใดบ้าง • คำว่า Include (รวม)หมายถึงให้รวมโรคหรือภาวะที่ผิดปกติ หรือข้อความที่ระบุนั้น อยู่ในกลุ่มรหัสหรือรหัสนี้ด้วย • คำว่า Exclude(ไม่รวม)จะวงเล็บบอกว่าโรคหรือภาวะที่ไม่รวมถึง นั้นใช้รหัสใด(ไปใช้รหัสนั้น)

  41. คำที่ใช้ใน Volume 1 AND (และ) คำว่า “และ” ในชื่อรหัส มีความหมายว่า “และ/หรือ” เช่น A18.3 วัณโรคลำไส้ เยื่อบุช่องท้อง และต่อมน้ำเหลือง มีความหมายครอบคลุมทั้ง วัณโรคที่ลำไส้,วัณโรคที่เยื่อบุช่องท้อง, วัณโรคที่ต่อมน้ำเหลือง ไม่ว่าจะเป็น 1, 2 หรือเป็นทั้ง 3 ตำแหน่ง ก็จะใช้รหัส A18.3เหมือนกัน A18.3 วัณโรคลำไส้ A18.3 วัณเยื่อบุช่องท้องA18.3 วัณโรคต่อมน้ำเหลืองA18.3 วัณโรคลำไส้ และเยื่อบุช่องท้องA18.3 วัณโรคลำไส้ และต่อมน้ำเหลืองA18.3 วัณโรคลำไส้ และเยื่อบุช่องท้อง และต่อมน้ำเหลือง

  42. เครื่องหมายที่ใช้ใน Volume 1 วงเล็บ( ) กรณีที่ 1 ใช้บอกว่าคำที่อยู่ในวงเล็บไม่ว่าจะมีหรือไม่มี ให้ใช้รหัส เดียวกัน เช่น I10 ความดันโลหิตสูง (หลอดเลือดแดง) (ไม่ร้าย) (ไม่ทราบสาเหตุ) (ร้าย) (ปฐมภูมิ) (ทั่วร่างกาย) กรณีที่ 2 ใช้ประกอบคำว่า “ไม่รวม” เพื่อแสดงว่าการวินิจฉัยนั้น ตรงกับรหัสใด เช่น H11.0 ต้อเนื้อ ไม่รวม:ต้อเนื้อเทียม (H11.8) กรณีที่ 3 ใช้ระบุรหัส 3 หลักที่อยู่ในกลุ่มโรค เช่น เนื้องอก (C00-D48) กรณีที่ 4 ใช้ระบุรหัสกริชหรือรหัสดอกจันที่คู่กัน เช่น M90.0* Tuberculosis of bone (A18.0†)หมายเหตุกรณีที่ 4 ไม่มีใน ICD-10-TM for PCU

  43. เครื่องหมายที่ใช้ใน Volume 1 Square brackets [ ] 1. แสดงคำย่อ 2. ความหมายเดียวกัน หรือคำที่ใช้เรียกแทน

  44. อักษรย่อที่ใช้ใน Volume 1 NOS - ย่อมาจาก “not otherwise specified” - แปลว่า “มิได้ระบุรายละเอียดนอกเหนือจากนี้” - มีความหมายว่า “ไม่เฉพาะเจาะจง”และ “ไม่มีคุณภาพ”

  45. เครื่องหมายที่ใช้ใน Volume 1 จุดขีด (.-)หมายถึงรหัสนั้นยังไม่สมบูรณ์ ไม่ครบหลัก ให้ไปหารหัสมาใส่ให้ครบหลักตามหลักการการให้รหัสนั้นๆ

  46. ICD-10-TM for PCU เล่ม 2= ดรรชนี

  47. เนื้อหา (Content) แบ่งเป็น 3 section (ดรรชนีโรคและการบาดเจ็บ) (ดรรชนีสาเหตุภายนอก/การบาดเจ็บ) (ตารางยาและสารเคมี) เล่ม 2= ดรรชนี

  48. 1. เรียงจาก A – Z2. ไม่มีรหัส V,W,X,Y โครงสร้าง คำหลัก คำอธิบาย/แนะนำ เล่ม 2= ดรรชนี รหัสที่อาจเป็นได้ คำขยาย หน้าที่ 15

  49. คำหลัก (lead term) คำหลัก (lead term) เป็นคำตั้งต้นที่ใช้นำไปหารหัสในหนังสือ ICD-10 เล่ม 2 (ดรรชนี)มักมีลักษณะ ดังนี้ 1. เป็นคำนาม บอกถึงการเป็นโรค, อาการ/ภาวะผิดปกติ เช่น disorder, disease, failure, -itis, hypo-, hyper- etc. 2. มักอยู่ในตำแหน่งสุดท้าย เช่นChronic obstructive pulmonary disease 3. บางคำ อยู่ตำแหน่งอื่น เช่น Acute corpulmonale 4. อาจมีหลายคำ เช่นHypertensiveheart failure

  50. Generic lead terms • Injury • sequelae • suicide • assault • legal intervention • war operations • counselling • observation • examination • history • problem • screening • status • vaccination • disease • complication • syndrome • pregnancy • labour • delivery • puerperal • maternal condition affecting fetus or newborn • Conditions arising in the perinatal period • Care

More Related