1 / 48

ตรรกศาสตร์ 2

ตรรกศาสตร์ 2. 887110 โครงสร้าง ดิสค รีตเบื้องต้น. ภาพรวมของเนื้อหา. การสมมูล สัจนิ รันดร์ การขัดแย้ง. ประโยคเปิด ( Open Sentence). ตรรกศาสตร์ 2. การให้เหตุผล (Argument). การสมมูล (Equivalence) , สัจนิ รันดร์ ( Tautologies) , การขัดแย้ง (Contradictions). การสมมูล ( Equivalence).

diza
Download Presentation

ตรรกศาสตร์ 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตรรกศาสตร์ 2 887110 โครงสร้างดิสครีตเบื้องต้น

  2. ภาพรวมของเนื้อหา การสมมูล สัจนิรันดร์ การขัดแย้ง ประโยคเปิด (Open Sentence) ตรรกศาสตร์ 2 การให้เหตุผล (Argument)

  3. การสมมูล (Equivalence), สัจนิรันดร์ (Tautologies),การขัดแย้ง (Contradictions)

  4. การสมมูล (Equivalence) • ประพจน์ที่เขียนต่างกัน แต่มีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี เราจะถือว่า ประพจน์ทั้งสอง “สมมูล” กัน • ประพจน์ที่สมมูลกันสามารถนำไปใช้แทนกันได้ • พิจารณาตารางค่าความจริงของ 2 ประพจน์นี้ p -> q กับ ~p v q • ดังนั้น ประพจน์ p->q สมมูลกับ ~p v q • รูปแบบการสมมูลเขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ดังนี้ p  q หรือ p  q

  5. กฎการสมมูล (Equivalence Laws)

  6. กฎการสมมูล (Equivalence Laws)

  7. การพิสูจน์การสมมูล • การพิสูจน์การสมมูลสามารถทำได้ 2 วิธี • การสร้างตารางค่าความจริง เพื่อตรวจสอบว่าค่าความจริงของประพจน์ที่พิจารณาเหมือนกันในทุกๆกรณีหรือไม่ • ใช้กฎในการพิสูจน์

  8. ตัวอย่างการพิสูจน์การสมมูลโดยใช้ตารางค่าความจริงตัวอย่างการพิสูจน์การสมมูลโดยใช้ตารางค่าความจริง • จงพิสูจน์ว่า P -> ~Q  Q->~P หรือไม่ • ค่าความจริงของประพจน์ P-> ~Q กับ ประพจน์ Q -> ~P มีค่าเหมือนกันในทุกๆแถว • ดังนั้น P -> ~Q สมมูลกับ Q->~P

  9. ตัวอย่างการพิสูจน์การสมมูลโดยใช้กฎการสมมูลตัวอย่างการพิสูจน์การสมมูลโดยใช้กฎการสมมูล • จงพิสูจน์ว่า P -> ~Q  Q->~P หรือไม่ P -> ~Q  ~P v ~Q กฎ Implies  ~Q v ~P สลับที่  Q -> ~P กฎ Implies ดังนั้น P -> ~Q  Q->~P

  10. กิจกรรมที่ 1 • จากรูปแบบประพจน์ที่กำหนดให้ จงพิศูจน์โดยใช้กฎสมมูลว่าสมมูลกันหรือไม่ • p-> (q -> r)  (p ^ q) -> r

  11. การพิจารณาสัจนิรันดร์ (Tautology) • เป็นรูปแบบของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงทุกกรณี • เทคนิคการตรวจสอบการเป็นสัจนิรันดร์ของประพจน์ ทำได้โดย • ใช้ตาราง • ใช้กฎการสมมูล • การสมมุติค่าความจริงแล้วดูการขัดแย้ง

  12. เทคนิคที่ 1 การใช้ตาราง • จงตรวจสอบว่าประพจน์นี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ (P->Q) <-> (~P v Q) • รูปแบบประพจน์ (p -> q) <-> (~p v q) มีค่าความจริงทุกกรณี • ดังนั้น รูปแบบประพจน์นี้ เป็นสัจนิรันดร์

  13. เทคนิคที่ 2 การใช้กฎการสมมูลมาช่วยพิจารณา • จงตรวจสอบว่าประพจน์นี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ P -> (P v Q) P -> (P v Q)  ~P v (P v Q) กฎ Implies  (~P v P) v Q จัดกลุ่มใหม่  T v Q สัจนิรันดร์ (~P v P)  T  T ดังนั้น P -> (P v Q) เป็นสัจนิรันดร์

  14. กิจกรรมที่ 2 • จงพิจารณาว่า ประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ โดยใช้กฎ [(~P v P) ^ Q] -> [(~S ^ S) v Q]

  15. เทคนิคที่ 3 การสมมุติค่าความจริงแล้วดูการขัดแย้ง • หลักการ ตรวจสอบว่าประพจน์มีโอกาสเป็น เท็จ ได้หรือไม่ ถ้าเป็นได้ แสดงว่าประพจน์นั้นไม่เป็นสัจนิรันดร์ • วิธีการ สมมุติให้ประพจน์ผสมเป็น เท็จ จากนั้นดูค่าความจริงของประพจน์ย่อย ดังนี้ • ถ้าประพจน์ย่อยมีค่าความจริง ขัดกัน แสดงว่าไม่มีทางเป็นเท็จได้ จะสรุปว่าประพจน์นั้น เป็นสัจนิรันดร์ • ถ้าประพจน์ย่อยมีค่าความจริง สอดคล้องกัน แสดงว่ามีทางเป็น เท็จได้ จะสรุปว่าประพจน์นั้น ไม่เป็นสัจนิรันดร์

  16. เทคนิคที่ 3 การสมมุติค่าความจริงแล้วดูการขัดแย้ง • ตัวอย่าง ประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ (P ^ Q) -> P พิจารณาลำดับการหาค่าความจริง (P ^ Q) -> P F สมมุติให้ประพจน์เป็นเท็จ TFพิจารณาค่าความจริงของ TT ประพจน์ย่อย ประพจน์ย่อย P มีความขัดแย้งกัน ดังนั้น ประพจน์นี้เป็น สัจนิรันดร์ 2 1 3

  17. กิจกรรมที่ 3 • จงพิจารณาว่าประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ โดยการสมมุติค่าความจริงแล้วดูการขัดแย้ง • (P ^ Q) -> (P ->Q) • (P v Q) -> P

  18. ประโยคเปิด(Open Sentence)

  19. ประโยคเปิด(Open Sentence) • คือ ข้อความที่ติดค่าตัวแปรที่ยังไม่รู้ว่าเป็น จริง หรือ เท็จ โดยตัวแปรนั้นเป็นสมาชิกของเอกภพสัมพัทธ์ที่กำหนด • ยังไม่ใช่ประพจน์จนกว่าจะมีการระบุค่าของตัวแปร • เช่น ประโยคเปิด P(x) นิยามโดย x – 3 > 5 • ค่าความจริงของ P(2) เป็นเท็จ • ค่าความจริงของ P(8) เป็นเท็จ • สังเกตว่าเมื่อ x ถูกระบุค่า P(x) จะกลายเป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงชัดเจน • เรียก P ว่า Predicate และ x ว่าตัวแปร (variable)

  20. การทำให้ประโยคเปิดเป็นประพจน์การทำให้ประโยคเปิดเป็นประพจน์ • สามารถดำเนินการได้ 2 วิธี ดังนี้ • นำสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์ไปแทนค่าในตัวแปร ตัวอย่าง ถ้ากำหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็น R และประโยคเปิด x > 3 เราจะยังไม่สามารถบอกได้ว่าข้อความนี้เป็นจริงหรือเท็จ จนกว่าจะลองแทนค่า x ดังนี้ เมื่อแทน x เป็น 2 จะได้ 2 > 3 ประพจน์นี้มีค่าความจริงเป็น F 5 จะได้ 5 > 3 ประพจน์นี้มีค่าความจริงเป็น T

  21. การทำให้ประโยคเปิดเป็นประพจน์ (ต่อ) • เติมวลีบ่งปริมาณ (Quantifier) มี 2 ชนิด คือ • x  U หมายถึง สำหรับ x ทุกตัวใน U • x  U หมายถึง มี x บางตัวใน U ตัวอย่าง กำหนด U = R และประโยคเปิด x < 2 x  R [x < 2] หมายถึง สำหรับ x ทุกตัวใน R ทำให้ x < 2 เป็นจริง ซึ่งค่าความจริงของประพจน์นี้จะเป็น F เพราะ มี x บางตัว เช่น x = 3 ทำให้เป็นเท็จ x  R [x <2] หมายถึง x บางตัวใน R ทำให้ x < 2 เป็นจริง ซึ่งค่าความจริงของประพจน์นี้เป็น T เพราะมี x บางตัวแน่ๆ ที่ทำให้ x < 2 เช่น 1

  22. ค่าความจริงของ x[P(x)] กับ x[P(x)]

  23. กิจกรรมที่ 4 • จงหาค่าความจริงของข้อความต่อไปนี้ ถ้ากำหนด U เป็น R • x [x + x = x2] • x [x + x = x2 ] • x [x2 > x] • x [x2 > x] • x [|x| ≥ x]

  24. กิจกรรมที่ 5 • กำหนด U = {-1,0 } จงหาค่าความจริงของ • x [x2 – 2x = 3] • x [x2 – 2x = 3] • x [2 - x > x + 2] • x [ 2 – x > x + 2]

  25. ค่าความจริงของประพจน์ที่มี 2 ตัวแปร 2 วลีบ่งปริมาณ

  26. การสลับลำดับของวลีบ่งปริมาณการสลับลำดับของวลีบ่งปริมาณ • xy[P(x,y)]  yx[P(x,y] • xy[P(x,y)] เป็น จริง เมื่อมี x อย่างน้อย 1 ตัว ที่จับคู่กับ y ทุกตัว แล้วทำให้ P(x,y) เป็นจริง • yx[P(x,y] เป็นจริง เมื่อทุก y มี x รองรับ เพื่อทำให้ P(x,y) เป็นจริง • xy[P(x,y)]  yx[P(x,y)] • xy[P(x,y)]  yx[P(x,y)]

  27. กิจกรรมที่ 6 • กำหนด U = {1,2,3} จงหาค่าความจริงของ • xy[x2 < y + 2] • xy[x2 + y2 < 12] • xy[x2 + y2 < 12]

  28. นิเสธของประพจน์ที่มีวลีบ่งปริมาณนิเสธของประพจน์ที่มีวลีบ่งปริมาณ • เนื่องจาก x [P(x)] กับ x [P(x)] เป็นประพจน์ ดังนั้น จึงมีนิเสธ ดังนี้ • นิเสธของ x [P(x)] เขียนแทนด้วย ~[x [P(x)]] x [~P(x)] • นิเสธของ x [P(x)] เขียนแทนด้วย ~[x [P(x)]] x [~P(x)]

  29. นิเสธของประพจน์ที่มีวลีบ่งปริมาณ (ต่อ) • นอกจากนี้ • ~[xy[P(x,y]]  xy[~P(x,y]] • ~[xy[P(x,y]]  xy[~P(x,y]] • ~[xy[P(x,y)]]  xy[~P(x,y)]] • ~[xy[P(x,y)]]  xy[~P(x,y)]]

  30. กิจกรรมที่ 7 • จงหานิเสธของ x[x2 = x] • จงหานิเสธของประพจน์ต่อไปนี้

  31. เพิ่มเติม : ประพจน์ที่มีวลีบอกปริมาณ

  32. การให้เหตุผล (Argument) • การให้เหตุผล ประกอบด้วย • เหตุ (premises) คือ สิ่งที่กำหนดให้ ประกอบด้วยประพจน์ย่อยๆ s1,s2,…sn • ผลสรุป (conclusion) เป็น ผลจากเหตุแทนด้วย Q

  33. การให้เหตุผล (ต่อ) • การให้เหตุผล สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ • แบบที่ 1 เขียนได้เป็น s1,s2,…sn|-- Q • แบบที่ 2 เขียนได้เป็น s1 s2 … sn Q

  34. การตัดสินว่าการอ้างเหตุผลสมเหตุสมผลหรือไม่การตัดสินว่าการอ้างเหตุผลสมเหตุสมผลหรือไม่ • ถ้า (S1 ^ S2 ^ S3 ^ … ^ Sn) -> Q เป็น สัจนิรันดร์ (Tautology) เราจะสรุปได้เลยว่าการอ้างนี้ สมเหตุสมผล • ถ้า (S1 ^ S2 ^ S3 ^ … ^ Sn) -> Qไม่เป็น สัจนิรันดร์ เราจะสรุปว่าการอ้างนี้ ไม่สมเหตุสมผล

  35. กฎการให้เหตุผล(Rule of Inference)

  36. กฎการให้เหตุผล (ต่อ)

  37. การพิสูจน์ว่า การอ้างเหตุผลสมเหตุสมผลหรือไม่ • เอาเหตุที่กำหนดให้ทั้งหมดมาเชื่อมกันด้วย “และ” ดังนี้ (S1 ^ S2 ^ S3 ^ … ^ Sn) • จากนั้น นำเหตุทั้งหมดในข้อ 1 มาเชื่อมด้วย “->” ดังนี้ (S1 ^ S2 ^ S3 ^ … ^ Sn) -> Q • พิจารณาว่า (S1 ^ S2 ^ S3 ^ … ^ Sn) -> Q เป็น สัจนิรันดร์ หรือไม่ • ถ้า เป็น เราจะอ้างเลยว่า สมเหตุสมผล • ถ้า ไม่เป็น เราจะอ้างเลยว่า ไม่สมเหตุสมผล

  38. เทคนิคการพิจารณาว่า (S1 ^ S2 ^ … ^ Sn)-> Q เป็นสัจนิรันดร์ • การใช้กฎการให้เหตุผล (Rule of Inference) • การใช้กฎการสมมูลมาช่วยจัดรูปแบบ • การสมมุติค่าความจริงแล้วดูการขัดแย้ง

  39. เทคนิคที่ 1 การใช้กฎการให้เหตุผล • ตัวอย่างที่ 1 การอ้างเหตุผลนี้ สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1. ถ้าเรวดีเป็นจำรวจแล้ว นุชจรีเป็นผู้ตรวจสอบบัญชี 2. เรวดีเป็นตำรวจ ผล นุชจรีเป็นผู้ตรวจสอบบัญชี • ตัวอย่างที่ 2 การอ้างเหตุผลต่อไปนี้ สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1. อารีรัตน์ไม่เป็นนักเขียน หรือ สุจิตราเป็นครู 2. อารีรัตน์เป็นนักเขียน ผล สุจิตราเป็นครู

  40. เทคนิคที่ 1 การใช้กฎการให้เหตุผล (ต่อ) • ข้อเสนอแนะของการใช้เทคนิคนี้ • เราต้องจำกฎต่างๆของการให้เหตุผลได้ • อาจต้องใช้ความจำมากและสับสนได้ • กรณีที่มีเหตุค่อนข้างเยอะ ใช้กฎแล้วอาจปวดหัวได้

  41. เทคนิคที่ 2 การใช้กฎการสมมูล หลักการ • รวมเหตุและผลที่โจทย์ให้ในรูปแบบนี้ (S1 ^ S2 ^ … ^ Sn)-> Q • ใช้กฎการสมมูลต่างๆเพื่อตัดสินว่าประพจน์ในข้อ 1 เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ • ถ้าประพจน์ในข้อ 1 เป็นสัจนิรันดร์ จะสรุปว่า สมเหตุสมผล • ถ้าประพจน์ในข้อ 1 ไม่เป็นสัจนิรันดร์ จะสรุปว่า ไม่สมเหตสมผล

  42. ตัวอย่างการใช้เทคนิคที่ 2 ในการพิจารณาการให้เหตุผล • ตัวอย่างที่ 1 การอ้างเหตุผลต่อไปนี้ สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1. P -> Q 2. P ผลQ • ตัวอย่างที่ 2 การอ้างเหตุผลต่อไปนี้ สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1. P ^ Q 2. P ผลP

  43. ตัวอย่างการใช้เทคนิคที่ 2 ในการพิจารณาการให้เหตุผล (ต่อ) • ตัวอย่างที่ 3 การอ้างเหตุผลต่อไปนี้ สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุP ผลP v Q

  44. ข้อเสนอแนะของการใช้เทคนิคที่ 2 • เทคนิคนี้ไม่ต้องจำมาก แต่ต้องใช้กฎการสมมูลคล่องๆหน่อย • ถ้ามีเหตุค่อนข้างมาก การใช้กฎอาจจะยากขึ้น

  45. เทคนิคที่ 3 การสมมุติค่าความจริงแล้วดูการขัดแย้ง หลักการ • รวมเหตุกับผลเข้าด้วยกันแบบนี้ (S1 ^ S2 ^ … ^ Sn)-> Q • สมมุติให้ประพจน์ในข้อ1 มีค่าความจริงเป็น เท็จ • หาค่าความจริงของแต่ละประพจน์ย่อย • ถ้าประพจน์ย่อยมีค่าความจริง ขัดกัน แสดงว่ามันเป็นเท็จไม่ได้ ให้สรุปว่า สมเหตุสมผล • ถ้าประพจน์ย่อยมีค่าความจริง สอดคล้องกัน แสดงว่ามันเป็นเท็จได้ ให้สรุปว่า ไม่สมเหตุสมผล

  46. ตัวอย่างการใช้เทคนิคที่ 3 ในการตรวจสอบการให้เหตุผล • ตัวอย่างที่ 1 จงพิจารณาว่าจากเหตุและผลที่กำหนดให้ สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1. P v Q 2. ~P ผล Q

  47. ตัวอย่างการใช้เทคนิคที่ 3 ในการตรวจสอบการให้เหตุผล • ตัวอย่างที่ 2 จงพิจารณาว่าจากเหตุผลที่กำหนดให้นี้สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1. P -> Q 2. Q ผล P

  48. คำถาม ???

More Related