560 likes | 865 Views
งานสุขภาพจิต. อ.เกาะยาว จ.พังงา. 2556. สรุปข้อมูลเกี่ยวกับงานสุขภาพจิต จิตเวช อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา.
E N D
งานสุขภาพจิต อ.เกาะยาว จ.พังงา 2556
สรุปข้อมูลเกี่ยวกับงานสุขภาพจิต จิตเวช อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา ข้อมูลทั่วไปบรรพบุรุษเดิมของคนเกาะยาวมาจากจังหวัดสตูลและตรังอพยพมาเมื่อครั้งสมัยรัตนโกสินทร์ประมาณพศ2328 จนกระทั้งพ.ศ.2446 ทางราชการได้ยกฐานะเป็นกิ่งอำเภอเกาะยาวและได้ยกฐานะเป็นอำเภอเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2531
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ขนาดและที่ตั้งอาณาเขตภูมิประเทศภูมิอากาศ
การปกครอง เขตพื้นที่การปกครองแบ่งออกเป็น 3 ตำบล18 หมู่บ้านมีการปกครอง2 รูปแบบเทศบาล2แห่งองค์การบริหารส่วนตำบล 2แห่ง
การคมนาคม การคมนาคมขนส่งใช้การเดินทาง ทางเรือโดยสารเพียงทางเดียว
เศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่ในอำเภอเกาะยาวประกอบอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 35.94 รองลงมาประกอบอาชีพเกษตรกรรม แม่บ้าน และ ประมง ร้อยละ 16.92, 16.37 และ 12.78
การศึกษา มีโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ จำนวน 13 โรงเรียน สังกัดกรมสามัญศึกษา จำนวน ๑ โรง โรงเรียนเอกชน (อิสลาม) จำนวน 1 โรงเรียน ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถม/อ่านออกเขียนได้ ร้อยละ ๖๐.30 มัธยมศึกษา ร้อยละ 28.67 ระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า ร้อยละ ๔.37 ระดับอนุปริญญา ร้อยละ 4.34 ไม่รู้หนังสือ ร้อยละ 4.32
สังคม/ศาสนา มีศาสนสถาน จำนวน 21 แห่ง ประกอบด้วย มัสยิด จำนวน 20 แห่ง สำนักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง ประชาชนส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 98.17 ศาสนาพุทธ ร้อยละ 1.83เชื้อชาติ สัญชาติไทย ร้อยละ 100 มีคนต่างด้าวสัญชาติพม่า/ มอญที่เดินทางมาทำงานเป็นผู้ใช้แรงงาน
ประชากร เกาะยาวน้อย 4,991 คน เกาะยาวใหญ่ 2,732 คน พรุใน 5,795 คน รวม 13,518 คน
สถานบริการสาธารณสุขมีจำนวน 5 แห่ง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเกาะยาว โรงพยาบาลเกาะยาวชัยพัฒน์ รพ.สต.พรุใน รพ.สต.เกาะยาวใหญ่ รพ.สต.โล๊ะโป๊ะ ข้อมูลทางด้านสาธารณสุข
รพ.เกาะยาวชัยพัฒน์ รพ.สต.พรุใน รพ.สต.เกาะยาวใหญ่ รพ.สต.โล๊ะโป๊ะ แพทย์ 1 1 - - ทันตแพทย์ 1 - - - พยาบาลจิตเวช 1 - - - พยาบาลวิชาชีพ 22 4 2 - เภสัชกร 2 - - - นวก.สาธารณสุข 2 1 1 1 เจ้าหน้าที่อื่นๆ 38 11 2 1 รวม 67 16 5 2 บุคลากรทางด้านสาธารณสุข
บุคลากรทางด้านสาธารณสุขบุคลากรทางด้านสาธารณสุข อสม.มีจำนวนทั้งสิ้น 301 คน ตำบลเกาะยาวน้อย109 คน ตำบลพรุใน138 คน ตำบลเกาะยาวใหญ่ 54 คน
ข้อมูลภาวะโรคทางจิตเวช 12 โรคของงานสุขภาพจิตรพ.เกาะยาวชัยพัฒน์
ระบบการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชระบบการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวช • โรงพยาบาลเกาะยาวชัยพัฒน์ รพ.สวนสราญรมย์ (กรณีผู้ป่วยฉุกเฉิน) • รพ.พังงา รพ.วชิระภูเก็ต
ระบบการเฝ้าระวัง ป้องกันการฆ่าตัวตายและติดตามดูแลผู้พยายามฆ่าตัวตาย ปีงบประมาณ 2556 ไม่พบผู้พยายามฆ่าตัวตาย การดูแลปัญหาด้านสุขภาพจิต
มาตรฐานงานบริการสุขภาพจิตมาตรฐานงานบริการสุขภาพจิต • แบ่งตามกลุ่มวัย
นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิตนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2557
เป้าหมายหลัก / ตัวชี้วัด ประชาชนมีความสุข เพิ่มความสุข ลดความทุกข์ 70% ของประชาชน ในแต่ละจังหวัดมีความสุข อัตราการฆ่าตัวตายของประชาชน ในแต่ละจังหวัดลดลง บุคคล – ครอบครัว – ชุมชน – สังคม
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยเด็กการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยเด็ก ส่งเสริม/ กระตุ้นพัฒนาการเด็ก กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กคลินิก WBC เด็กแรกเกิด-5 ปี 1.ประเมินพัฒนาการในเด็กแรกเกิด-5ปี 2.จัดมุมส่งเสริมพัฒนาการเด็กในคลินิก WBC 3.การกระตุ้นพัฒนาการ 4.ให้ความรู้ ทักษะแก่ครูในการคัดกรองและช่วยเหลือเบื้องต้น 5.ให้ความรู้สุขภาพจิตในการเลี้ยงดูเด็ก เน้น
ประเมินพัฒนาการในเด็ก แรกเกิด-5 ปี ประเมินคัดกรองพัฒนาการเด็กด้วยแบบอนามัย55และDSI300 ข้อ โดยประเมิน5ด้านคือ ด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา ภาษาและ ด้านสังคม ค้นหาเด็กออทิสติก
ผลการประเมินพัฒนาการในเด็ก แรกเกิด-5 ปี
ให้ความรู้ ทักษะแก่ครูในการคัดกรอง และช่วยเหลือเบื้องต้น ให้ความรู้แกนนำคุณครูทุกโรงเรียน
ให้ความรู้ในการเลี้ยงดูเด็กกลุ่มผู้ปกครองให้ความรู้ในการเลี้ยงดูเด็กกลุ่มผู้ปกครอง ผลทดทดสอบความรู้ก่อนให้ความรู้ ครอบคลุมตามเกณฑ์ ร้อยละ 88.12 หลังให้ความรู้ ร้อยละ 90.21
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยเด็กการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยเด็ก พัฒนาความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์ (IQ-EQ) ให้ความรู้ในการเลี้ยงดูเด็กและความฉลาดทางอารมณ์ เน้น
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยเด็กการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยเด็ก ประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ประเมินเด็กมัธยมชั้น ม.1 จำนวน 50 คน เนื่องจากเด็กมาจากต่างโรงเรียนมาเรียนร่วมกัน พบว่า ไม่พบเด็กที่มี EQต่ำ 25
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยเด็กการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยเด็ก ให้ความรู้ในการเลี้ยงดูเด็กและความฉลาดทางอารมณ์ ผู้ปกครองเข้าใจสามารถตอบได้ ร้อยละ 90 26
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่นการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่น พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) พัฒนาทักษะชีวิต ป้องกันปัญหาการเรียนและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ เช่น ความรุนแรง การติดสารเสพติด การติดเกม การตั้งครรภ์ เน้น 27
แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี กลุ่มเป้าหมาย ป่วย พื้นที่สร้างสรรค์ เวทีสร้างสุขป้องกัน 4 ปัญหาหลักในวัยรุ่น Psychosocial Clinic รพศ./รพท. วัยรุ่น ระบบ Refer ท้อง, ยาเสพติด,ความรุนแรง, เกม รพช. ระบบ Refer บริการสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นแบบบูรณาการ การคัดกรองเด็กที่มีปัญหาการให้คำปรึกษาในโรงเรียน SDQ ระบบ YC โรงพยาบาลจิตเวช ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน นักจิตวิทยาในโรงเรียน ท้องไม่พร้อม / ยาเสพติด/ADHD / LD รณรงค์ สธ.+ศธ. ร่วมใจ ปฐมนิเทศ “ปฐมบททางเพศ” 28
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่นการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่น พัฒนาทักษะชีวิต ป้องกันปัญหาการเรียนและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ เช่น ความรุนแรง การติดสารเสพติด การติดเกม การตั้งครรภ์ เน้น โครงการวัยรุ่นวัยใส ใส่ใจสุขภาพปี2556 29
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่นการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่น พื้นที่สร้างสรรค์ เวทีสร้างสุข ในโรงเรียนมัธยมมีวงดนตรีโรงเรียน หลังเลิกเรียนมีการเล่นกีฬา 30
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่นการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่น โครงการวัยรุ่นวัยใส ใส่ใจสุขภาพ เป็นโครงการเชื่อมระบบวัยรุ่นทั้งหมดเพื่อ ป้องกันปัญหาการเรียนและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ เช่น ความรุนแรง การติดสารเสพติด การติดเกม การตั้งครรภ์ 31
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่นการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่น ประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) เน้น TO BE NUMBER ONE 32
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงานการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงาน พัฒนาความสามารถในการปรับตัว/ยืดหยุ่นในการทำงาน (Resilience) สร้างความสุขในการทำงาน ป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในที่ทำงาน (การติดสุรา/ยาเสพติด/ความเครียด) สร้างและรักษาความสัมพันธ์ในครอบครัว เน้น
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงานการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงาน พัฒนาความสามารถในการปรับตัว/ยืดหยุ่นในการทำงาน (Resilience) ประเมินความเครียดในเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเกาะยาวชัยพัฒน์ ผลการดำเนินงาน พบความเครียดเกินปกติเล็กน้อยจำนวน 6 คนร้อยละ10 พบความเครียดเกินปกติมากจำนวน 2 คนร้อยละ3.33
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงานการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงาน การจัดกิจการการแก่งขันกีฬาในกลุ่มเจ้าหน้าที่ และอสม. 35
การให้คำปรึกษาก่อนสมรส การครองเรือน • การเป็นพ่อแม่ • ให้คำปรึกษาในคู่สมรส
กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย มีชมรมออกกำลังกาย หมู่บ้านละ 1 ชมรม มีการออกกำลังกายต่อเนื่อง ทุกวันตอนเย็น เช่น ชมรมแอโรบิค ชมรมจักรยาน
การค้นหาและคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตในหญิงมีครรภ์การค้นหาและคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตในหญิงมีครรภ์ มีการค้นหาและคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตในหญิงมีครรภ์รายใหม่ทุกรายโดยใช้แบบประเมินความเครียดในสมุดสุขภาพแม่และเด็กเล่มสีชมพู 38
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงานการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงาน • Psychosocial Clinic • คลินิกให้คำปรึกษา • คลินิกคลายเครียด • คลินิกบำบัดยาเสพติด • คลินิกoscc 39
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุ สร้างคุณค่าและความภาคภูมิใจในชีวิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง เน้น
จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ กิจกรรม ดี เก่ง สุข
จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ กลุ่มผู้สูงอายุสอนจริยธรรมอิสลามกับเด็กในหมู่บ้านทุกคืนได้รับงบสนับสนุนจาก อบต.
จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ กลุ่มผู้สูงอายุรับจ้างเล่นรอเง็งทุกงาน
จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ แกนนำออกกำลังกายไม้กระบอง ได้เชิญชวนให้ผู้สูงอายุร่วมกันออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน กลุ่มถักไซสอนให้กับชนรุ่นหลังเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น
การกระตุ้นและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มธรรมะออกกำลังกาย และทำงานที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุ ให้ความรู้เรื่อง ใช้หลัก 6 อ.ในการดำเนินชีวิต งานวันผู้สูงอายุ ภาพงานวันสูงอายุ 46
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุ จัดชมรมผู้สูงอายุ ประชุมสัญจร 47
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุ คัดกรองโรคซึมเศร้าผู้สูงอายุ ประเมินโรคสมองเสื่อมในคลินิกNCD ผลการดำเนินงาน การคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุร้อยละ 76 การประเมินโรคสมองเสื่อมในคลินิกร้อยละ 14.4 48
การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุ ให้สุขภาพจิตศึกษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความคิด
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิตการพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต พัฒนาการดำเนินงานดูแลและเยียวยาจิตใจในสถานการณ์วิกฤต สุขภาพจิตจากเหตุการณ์ต่างๆ สื่อสารข้อมูลและความรู้ในการดูแลจิตใจในภาวะวิกฤต จัดทีม MCATT ประจำหน่วยงาน และประจำอำเภอในพื้นที่ พร้อมดูแลในสถานการณ์วิกฤต เน้น