280 likes | 1.5k Views
APPENDIX (ตัวอย่าง). - ผังโครงสร้าง / หน้าที่ - การสื่อสารภายใน / ภายนอก (DIRECTORY) - แนวทางปฏิบัติในการระงับเหตุ ณ จุดเกิดเหตุ - ข้อมูลโรงงาน - MSDS - LIST อุปกรณ์ป้องกัน / ระงับภัยด้านสิ่งแวดล้อม - แนวทางปฏิบัติ กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณะ
E N D
APPENDIX (ตัวอย่าง) - ผังโครงสร้าง / หน้าที่ - การสื่อสารภายใน / ภายนอก (DIRECTORY) - แนวทางปฏิบัติในการระงับเหตุ ณ จุดเกิดเหตุ - ข้อมูลโรงงาน - MSDS - LIST อุปกรณ์ป้องกัน / ระงับภัยด้านสิ่งแวดล้อม - แนวทางปฏิบัติ กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณะ - แผนผังโรงงาน / นิคมที่ตั้งอยู่ - โครงสร้างแผนฯ จังหวัดระยอง
ตัวอย่างบอร์ด ในห้องบัญชาการเหตุฉุกเฉิน (COMMAND ROOM BOARD)
ระบบแจ้งเหตุเตือนภัยเหตุฉุกเฉิน TOC 1. แจ้งเหตุในโรงงาน : ผู้บริหาร, ผู้ปฏิบัติงาน และ VISITOR ในพื้นที่ โรงงานขณะนั้น (OFFICE, FIELD) ระบบแจ้งเหตุในโรงงาน SEQUENCE : 1. SIREN = ALERT (เตรียมพร้อม) 2. AUDIBLE ALARM = สัญญาณเสียงเข้าสู่เหตุฉุกเฉิน (ประเภท, ระดับต่าง ๆ 3. PUBLIC ANNOCCEMENT = ประกาศข้อความแจ้งเหตุฉุกเฉิน (เหตุการณ์, แนวทางปฏิบัติ) 4. WALKIE – TALKIE = ประกาศช่องฉุกเฉินให้ผู้ไม่เกี่ยวข้อง งดใช้, STAND BY
ระบบแจ้งเหตุเตือนภัยเหตุฉุกเฉิน TOC (ต่อ) 2. แจ้งเหตุนอกโรงงาน : ผู้เกี่ยวข้องกับแผนฯ ฉุกเฉินที่จำเป็นต้องทราบ; ต้องเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ ที่อยู่นอกพื้นที่โรงงาน ขณะนั้น หรือนอกเวลาทำการปกติ ระบบแจ้งเหตุนอกโรงงาน (แจ้งเหตุส่วนบุคคล) ทำเพิ่มเติมจากระบบแจ้งเหตุภายในโรงงาน 1. ส่ง SMS 2. โทรศัพท์แจ้ง DUTY ROTA (4 คน)
TOC EMERGENCY COMMUNICATION FLOW CHART EMERGENCY SITUATION SIREN NO YES AUDIBLE ALARM SEND SMS - GROUP R (DUTY ROTA) - GROUP C (ON-CALL TEAM) - GROUP M (MANAGEMENT) - GROUP K (KEY MAN) PHONE CALL (DUTY ROTA) PUBLIC ANNOUNCEMENT FIELD & OFFICE
เมื่อได้ยินเสียง SIREN ผู้ปฏิบัติงานในเขตควบคุม - หยุดงาน / ปิดเครื่องมือทุกชนิด - ออกจากที่อับ / ลงจากที่สูง - ไปที่ TRIAGE AREA (TA) ที่ใกล้ที่สุด - รอฟังประกาศ, ปฏิบัติตาม - กลับเข้ามาปฏิบัติงาน เมื่อได้รับแจ้งสภาวะปกติแล้วเท่านั้น (สัญญาณ CLEAR) ผู้ปฏิบัติงานนอกเขตควบคุม - รอฟังประกาศ, ปฏิบัติตาม
TESTING PERIOD - ทดสอบทุกวันพุธ 11:30 น. - เริ่มจากกด MANUAL CALL POINT จริง (SIREN) หมุนเวียนกันไป - ดำเนินการโดย OPERATION (CONTROL ROOM) / พูดสดๆ - เสียงสัญญาณแต่ละเสียง จะถูกปล่อย/กดทิ้งไว้ให้ดังต่อเนื่อง 10 วินาที (พัก 3 วินาที) 2 ครั้ง - ข้อความประกาศ จะประกาศซ้ำ 2 ครั้ง
แผนหนีไฟออกจากอาคาร และแผนอพยพ
แผนหนีไฟออกจากอาคาร วัตถุประสงค์ • เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน และมีความ • จำเป็นต้องเคลื่อนย้ายออกจากอาคาร • เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้จัดเตรียมระบบ / อุปกรณ์, • แต่งตั้งตัวแทนในการเคลื่อนย้ายบุคคลออกจากอาคาร • ไปยังจุดรวมพล
ผู้ตรวจพื้นที่ (AREA WARDEN) หมายถึง ผู้ทำหน้าที่ในการตรวจพื้นที่ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแล และ ประจำพื้นที่/อาคารนั้นๆ ให้มีการเคลื่อนย้ายบุคคลออกมายังจุดรวมพลที่กำหนดไว้ให้ครบถ้วนปลอดภัย รวมทั้งการตรวจสอบ/ดำเนินการที่เกี่ยวข้อง กรณีเกิดก๊าซพิษรั่วไหล ผู้ทำหน้าที่ - ตัวแทนหน่วยงาน/พื้นที่ที่ได้รับการแต่งตั้งจาก ผจก.สำนัก/ฝ่ายในหน่วยงาน/ พื้นที่นั้นๆ สัญลักษณ์ - ใช้ปลอกแขนที่มีข้อความ AREA WARDEN - ให้ตัวแทนแต่ละพื้นที่เป็นผู้ดูแลจัดเก็บให้พร้อมใช้งานตลอดเวลา หากมีการ สับเปลี่ยนบุคคล ให้มอบหมายบุคคลใหม่ดำเนินการต่อเนื่องกันไป
ผู้ตรวจพื้นที่ (ต่อ) แนวทางปฏิบัติ 1. สวมปลอกแขนฯ/ แจ้งบุคคลที่อยู่ในอาคารออกไปยังจุดรวมพล 2. ตรวจสอบให้หยุดปฏิบัติงาน 3. ตรวจสอบพื้นที่ที่รับผิดชอบให้ทั่วบริเวณ 4. ตรวจสอบและทำการปิดสวิทซ์ หรือถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ / เครื่องมือต่างๆ ที่เปิดใช้งานอยู่ 5. แจ้งจำนวนผู้บาดเจ็บ/เสียชีวิต /ตกค้างให้ Command Room ทราบ 6. ออกไปจุดรวมพล แจ้งผลการตรวจพื้นที่ที่รับผิดชอบ/ เป็นผู้ช่วย ผู้ควบคุมที่จุดรวมพลในการนับยอด ตามที่ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล มอบหมาย และ Stand by อยู่จนกว่าจะมีประกาศจาก CCB ว่าจะให้ ดำเนินการอย่างไรต่อไป
ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล (ASSEMBLY CONTROLLER) หมายถึง ผู้ที่ทำหน้าที่นับยอดบุคคล, ควบคุมการรวมพล ของ พนักงาน, ผู้รับเหมา และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ เมื่อเกิดเหตุ ฉุกเฉินขึ้น และจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายออกมายังจุดรวมพลที่กำหนดไว้ รวมทั้ง การประสานงานส่ง – รับข้อมูลกับ Command Room ผู้ทำหน้าที่ - จุดรวมพล 1 แต่งตั้งจาก หน.ทีมประสานงาน - จุดรวมพล 2 รปภ. ประตู 9 หรือ หน.หน่วย รปภ. - จุดรวมพล 3 แต่งตั้งจาก ผจก.ฝ่ายซ่อมบำรุง สัญลักษณ์ - ใช้ปลอกแขนที่มีข้อความ ASSEM. CONTROLLER
ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล (ต่อ) หมายเหตุ : 1. การจัดหาปลอกแขนสัญลักษณ์มาใช้งาน ให้เป็นหน้าที่ของ ส่วน รอ./ฝคป. 2. ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล (ทั้ง 3 จุด) มีหน้าที่ ตรวจสอบปลอกแขนสัญลักษณ์ และรายชื่อพนักงานที่จัดทำไว้ที่จุดรวมพล (จุดรวมพล 1 และ 3) ตามระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้พร้อมใช้งาน 3. การแต่งตั้งผู้ทำหน้าที่ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล ของแต่ละหน่วยงาน/พื้นที่ ให้กำหนดผู้ทำหน้าที่สำรองไว้ด้วย 4. การจัดทำและ Up date รายชื่อพนักงาน, Contract out ของ TOC ที่เก็บไว้ ประจำจุดรวมพล 1 และ 3 ให้เป็นหน้าที่หลักของทีมประสานงาน ร่วมกับ ส่วน รอ.
ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล (ต่อ) แนวทางปฏิบัติ เหตุฉุกเฉินระดับ 2, 3 ให้ปฏิบัติดังนี้ 1. รับวิทยุและโทรโข่งที่อาคารดับเพลิงมาใช้งานที่จุดรวมพล(เปิดวิทยุช่อง 5) 2. เดินทางไปจุดรวมพลที่รับผิดชอบทันที 3. นำปลอกแขนสัญญลักษณ์มาสวมใส่และควบคุมดำเนินการตาม ผังโครงสร้างการสั่งการที่จุดรวมพล 4. นำแบบฟอร์มที่จัดไว้มาตรวจเช็ค (นับยอด) รายชื่อพนักงานประจำจุดนั้นๆ ร่วมกับผู้ช่วยฯ ตามแบบฟอร์มที่จัดทำไว้ 5. กรณีมีผู้รับเหมาอยู่ด้วย ให้แยกรายชื่อแต่ละบริษัทให้ชัดเจน 6. ใช้การสื่อสารทางวิทยุช่อง 5 โดยพยายามสื่อสารให้สั้น และกระชับที่สุด 7. เมื่อนับยอดครบถ้วนแล้ว ให้แจ้ง Command Room ทราบทันที 8. ควบคุมบุคคล และ Stand by อยู่จนกว่าจะมีประกาศจาก CCB 9. ส่งบันทึก แบบฟอร์มสรุปยอดรวมบุคคลที่จุดรวมพล ให้อาคารดับเพลิง
ผู้ปฏิบัติงาน/ผู้มาติดต่อ (Visitor) ในอาคารฯ ผู้ปฏิบัติงาน หมายถึง ผู้ที่ถูกกำหนดตามโครงสร้างบังคับบัญชาของ TOC ให้ปฏิบัติงานประจำหน่วยงานของตนเอง รวมทั้ง Contract-out ที่ทำงานประจำพื้นที่นั้นๆ ผู้มาติดต่อ (Visitor) หมายถึง บุคคลภายนอกที่เข้ามาติดต่อกับพนักงาน TOCในขณะ ที่มีการประกาศแจ้งเหตุฉุกเฉิน
ผู้ปฏิบัติงาน/ผู้มาติดต่อ (ต่อ) แนวทางปฏิบัติ 1. ควบคุมสติไม่ให้ตื่นตระหนก 2. เก็บ/รวบรวมเอกสาร, ข้อมูลสำคัญ, ทรัพย์สินมีค่าไว้ เพื่อการขนย้ายหากจำเป็น 3. ปิดกุญแจโต๊ะ, ตู้ทำงาน ปิดสวิทซ์ อุปกรณ์/เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้งานอยู่ 4. ออกไปรวมตัวที่จุดรวมพลที่กำหนดไว้ ตามเส้นทางหนีไฟ 5. กรณีมีผู้มาติดต่องานในขณะนั้น ให้แจ้งแนวทางปฏิบัติให้ทราบ 6. กรณีเกิดเหตุกับอาคารนั้นโดยตรง ไม่ควรเสียดายหรือกังวลกับทรัพย์สิน หรือสัมภาระส่วนตัวมากเกินไป 7. เมื่อไปถึงจุดรวมพลแล้ว ให้แยกออกเป็นฝ่าย/ส่วน ให้ชัดเจน 8. ให้รออยู่ที่จุดรวมพล จนกว่าจะมีประกาศจาก CCB แจ้งแนวทางปฏิบัติ 9. ผู้มาติดต่อให้แยกออกไปเป็นกลุ่มให้ชัดเจน
ผู้ปฏิบัติงาน/ผู้มาติดต่อ (ต่อ) หมายเหตุ : 1. แต่ละจุดรวมพล อาจมีผู้รับเหมาเข้ามารวมอยู่ด้วย (จะแยกเป็น กลุ่ม/บริษัท) 2. กรณีพนักงาน หรือ Contract out ไปติดต่องานกับหน่วยงานอื่น ให้ไปรวมตัวที่จุดรวมพลที่ใกล้ที่สุด 3. กรณีนอกเวลาทำการ หากยังมีการปฏิบัติงานอยู่ ให้พนักงาน, Contract out, VISITOR, นศ.ฝึกงาน มารวมตัว ณ จุดรวมพล หน้าอาคารดับเพลิง (บริเวณลานตรวจสภาพยานพาหนะ)
แผนอพยพ วัตถุประสงค์ • เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติเมื่อเหตุฉุกเฉิน ขยายลุกลาม • รุนแรงมาก จำเป็นต้องอพยพบุคคลออกจากโรงงาน • เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการประสานงานกับหน่วยงาน • ที่เกี่ยวข้องกับแผนฯ ฉุกเฉิน จ.ระยอง เพื่อให้การอพยพ • เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
แผนอพยพ (ต่อ) อพยพ หมายถึง การอพยพออกจากจุดรวมพลไปยังจุดปลอดภัย ภายนอกโรงงาน ณ สถานที่ที่ราชการกำหนดใน สถานการณ์ขณะนั้น การอพยพจะดำเนินการเมื่อ TOC ได้ประกาศเข้าสู่แผนเหตุฉุกเฉินระดับที่ 3 และ OC พิจารณาแล้วเห็นว่า มีความจำเป็นต้อง อพยพบุคคลออกนอกโรงงาน
แผนอพยพ (ต่อ) แนวทางปฏิบัติ เมื่อมีการอพยพบุคคลออกไปยังพื้นที่ปลอดภัยนอกโรงงาน จะมี Audible Alarm จาก CCB ประกาศให้ทราบ จากนั้น จะมีหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยเหลือไปยังพื้นที่ปลอดภัย โดยจะมียานพาหนะจาก TOC และราชการเข้ามารับ พร้อมกับการประสานงานเปิดเส้นทางให้ผ่านออกไปยังจุดรองรับการอพยพ ทั้งนี้ ก่อนที่จะอพยพออกไป ต้องทำการนับยอด และรายงานผลให้ Command Room ทราบก่อนทุกครั้ง
ผังโครงสร้างการสั่งการที่จุดรวมพลผังโครงสร้างการสั่งการที่จุดรวมพล - ยืนในตำแหน่งที่เหมาะสม (Center) - มี Form สรุปยอดรวมใช้งาน - มีข้อมูลผู้รับเหมา กรณีที่มีผู้รับเหมาจำนวนมาก - มีแบบฟอร์มแจกให้ Area Warden ใช้งานเพียงพอ - อุปกรณ์สื่อสาร(วิทยุ, โทรโข่ง)มีคุณภาพดีใช้งาน - มีแฟ้มเก็บเอกสาร+เครื่องคิดเลขไว้ใช้งาน (เก็บในตู้) Assembly Controller (ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล) เลขาฯ Area Warden#1 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#2 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#3 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#4 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#5 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#6 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#7 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#8 (ผู้ช่วยฯ) TOC Staff Contract out VISITOR/นศ. ฝึกงาน ผู้รับเหมา บริษัท…………. ผู้รับเหมา บริษัท…………… ผู้รับเหมา บริษัท…………... ผู้รับเหมา บริษัท……….....
Assembly point #2 Contractor Assembly point #1 TOC Staff /Contract out /Visitor /นศ.ฝึกงาน Assembly point #3