370 likes | 604 Views
แนวทางการดำเนินงานโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน ด้วยระบบ VMI. แพรพรรณ ภูริบัญชา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๖ จังหวัดขอนแก่น วันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๕ ห้องภูผาม่าน โรงแรมขอนแก่นโฮเต็ล จังหวัดขอนแก่น. Vendor Managed Inventory (VMI).
E N D
แนวทางการดำเนินงานโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน ด้วยระบบ VMI แพรพรรณ ภูริบัญชา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๖ จังหวัดขอนแก่น วันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๕ ห้องภูผาม่าน โรงแรมขอนแก่นโฮเต็ล จังหวัดขอนแก่น
Vendor Managed Inventory (VMI) เป็นระบบที่ผู้ขายเข้าไปช่วยดูแลบริหาร สินค้าคงคลังให้แก่ผู้ซื้อ เพื่อให้ผู้ซื้อมีปริมาณสินค้าคงคลังที่เหมาะสม โดยนำสินค้าไป เติมเต็มให้เมื่อถึงจุดสั่งซื้อ (Reorder Point) 2
เป้าประสงค์ Customer • เพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนพื้นฐานที่มีคุณภาพอย่าง เท่าเทียมของกลุ่มเป้าหมาย Cost •เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการงบประมาณให้เพียงพอ และเหมาะสมในการจัดหาวัคซีน • ลดอัตราการสูญเสียวัคซีน Process •เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการจัดส่งและกระจายวัคซีน รวมทั้งการควบคุม คุณภาพวัคซีนด้วยการจัดการคลังวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น (VMI & Cold chain management) Learning •อบรมพัฒนาศักยภาพ ให้มีความรู้และตระหนักถึงภารกิจก้าวใหม่สำหรับบุคลากรสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องทุกระดับ : สสจ.ฒ เภสัชกรรม, เจ้าหน้าที่ สสอ., เจ้าหน้าที่ รพ.สต.
ประเภทวัคซีนที่ให้บริการตามกลุ่มเป้าหมายประเภทวัคซีนที่ให้บริการตามกลุ่มเป้าหมาย * กรณีไม่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
ระบบลูกโซ่ความเย็น(Cold chain system) • หมายถึง ระบบที่ใช้ในการจัดเก็บ และการกระจายวัคซีนให้คงคุณภาพ ตั้งแต่ผู้ผลิตวัคซีนจนถึงผู้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค • ประกอบด้วย การจัดเก็บและการขนส่งที่เชื่อมต่อกัน ออกแบบเพื่อให้วัคซีนอยู่ในช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสม จนถึงมือผู้ใช้
Vaccine cold chain ผู้ผลิตวัคซีน ต่างประเทศ กรมควบคุมโรค ท่าอากาศยานกรุงเทพ รถห้องเย็น รถห้องเย็น ผู้ผลิตวัคซีนในประเทศ สคร. สสจ. สอ./ PCU รพ. (CUP) / สสอ.
Vaccine cold chain ผู้ผลิตวัคซีน ต่างประเทศ องค์การเภสัชกรรม ท่าอากาศยานกรุงเทพ รถห้องเย็น ผู้ผลิตวัคซีนในประเทศ โรงพยาบาลแม่ข่าย (CUP) เบิก-รับวัคซีนทุกเดือน หน่วยบริการปฐมภูมิ รพ.สต./ PCU
โรงพยาบาลแม่ข่าย • ประมาณการจำนวนผู้มารับบริการวัคซีนเฉลี่ยต่อเดือนแยกรายวัคซีน • วันที่ให้บริการวัคซีนที่ปรับเกลี่ยให้เป็นภาพรวมของระดับจังหวัด • กำหนดรายชื่อเภสัชกรที่รับผิดชอบคลังวัคซีนอำเภอ
การสนับสนุนเภสัชกรในการจัดการคลังวัคซีนการสนับสนุนเภสัชกรในการจัดการคลังวัคซีน • การจัดอบรมศักยภาพเภสัชกรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง • สปสช. ร่วมกับ สสจ. ตรวจประเมินความเพียงพอของตู้เย็นในการรับเป็นคลังวัคซีนระดับอำเภอ • สนับสนุนอุปกรณ์สำหรับการ monitor cold chain
การสนับสนุนเครื่องมือ (Computerized Data Logger)ในการติดตาม cold chain • การใช้ log tag ในการติดตามอุณหภูมิของลุกโซ่ความเย็น ตั้งแต่การรับวัคซีนจากคลังอำเภอ (CUP, โรงพยาบาล) ไปยังหน่วยบริการปฐมภูมิ (รพ.สต.) • ทุกครั้งที่เจ้าหน้าที่มารับวัคซีน จะต้องนำ log tag มา synchronize data ของอุณหภูมิเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ของเภสัชกร รพ. เพื่อมาติดตามกำกับ ประสิทธิภาพของการจัดการวัคซีน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • รวบรวมวันที่ให้วัคซีน ปรับเกลี่ยเป็นวันเดียวกัน แจ้ง สปสช. • สำรองวัคซีนต่อไปอีก 3 เดือน เพื่อป้องกันการขาดแคลนวัคซีน
สสจ.สำรวจวันที่ให้บริการสสจ.สำรวจวันที่ให้บริการ วัคซีนแต่ละCUP สปสช.ประมาณการอัตราการ ใช้วัคซีนต่อเดือนแยกรายหน่วยบริการ สปสช.ส่งให้ CUP/สสจ.ยืนยันข้อมูล ภายใน 1-2 สัปดาห์ สสจ.ปรับเกลี่ยให้เป็น วันเดียวกันภายในจังหวัด สสจ.แจ้งกลับ สปสช. แก้ไขข้อมูล สปสช.ปรับแก้ แก้ไขข้อมูล ยืนยันข้อมูล สปสช.คำนวณ Reorder Point/ Maximum Level และส่งให้ GPO GPO นำเข้า ระบบVMI
CUPเข้าระบบVMI บันทึกปริมาณวัคซีนคงเหลือ (onhand)รายLot. NO ต่ำกว่า ROP? GPO ไม่ส่งวัคซีนให้หน่วยบริการ YES GPO ส่งวัคซีนเติมเต็ม=Max จบกระบวนการเบิกวัคซีน ผ่านระบบ VMI CUP ตรวจรับวัคซีน CUP จ่ายวัคซีนให้หน่วยบริการ
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายค่าชดเชยค่าบริการงบ PPE Itemize_EPI
กลุ่มเป้าหมาย • ประชาชนคนไทยทุกสิทธิ์ ครอบคลุมทุกชนิดวัคซีนตามโปรแกรม EPI (ยกเว้น OPV) • เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี • เด็กนักเรียน ป.1 และ ป.6 • หญิงมีครรภ์
หลักเกณฑ์การจ่าย • จัดสรรเป็นค่าชดเชยบริการ ค่าวัสดุ และอุปกรณ์การฉีด • อัตรา 10 บาท/ครั้ง • พิจารณาจากผลงาน 18 แฟ้ม / 12+8 แฟ้ม
เงื่อนไขการจ่าย • ได้รับรายงานข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน ตามรายการที่กำหนด • เลขรหัสหน่วยบริการ/สถานพยาบาลที่ให้บริการ • เลขประจำตัวประชาชนผู้ได้รับวัคซีน • สิทธิการรักษาพยาบาล • วัน/เดือน/ปี เกิด • วัน/เดือน/ปีที่เข้ารับบริการ • ชนิดวัคซีนที่ให้ตามรหัสมาตรฐานที่กำหนด • กรณีเด็กไม่มีเลข 13 หลัก(เด็กทารกแรกเกิด)ให้จัดส่งข้อมูล HN เพิ่มเติม • จัดสรรเป็นรายไตรมาส ผ่าน สจจ.
การควบคุมกำกับ ติดตามและประเมินผล ใช้ Composite Indicators เรื่องอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน • Measles/MMR ในเด็กอายุ 1 ปี • JE3 ในเด็กอายุ 3 ปี • DTP5 ในเด็กอายุ 5 ปี
เด็กอายุครบ 1 ปี • เกิดระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 52-30 ก.ย.53 สูตร จำนวนเด็กที่ได้รับวัคซีน M/MMRx100 จำนวนเด็กอายุครบ 1 ปีทั้งหมด
เด็กอายุครบ 3 ปี • เกิดระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 50-30 ก.ย.51 สูตร จำนวนเด็กที่ได้รับวัคซีน JE3x100 จำนวนเด็กอายุครบ 3 ปีทั้งหมด
เด็กอายุครบ 5 ปี • เกิดระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 48-30 ก.ย.49 สูตร จำนวนเด็กที่ได้รับวัคซีน DTP5x100 จำนวนเด็กอายุครบ 5 ปีทั้งหมด
หมายเหตุ ตัวตั้ง • แหล่งข้อมูลจากข้อมูล 18 แฟ้ม ตัวหาร • แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูลตามทะเบียนราษฎร์จากสำนักบริหารสารสนเทศ ฯ • คำนวณจากเด็กไทยทุกสิทธิ์
ประเด็นการกำกับ ติดตามประเมินผล • ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย • จำนวนให้บริการวัคซีนแยกรายหน่วยบริการ (บันทึกข้อมูลบริการรายบุคคลในระบบ ให้ครบถ้วน ทันเวลา ถูกต้องตาม code ที่กำหนดเป็นมาตรฐาน • จำนวนการเบิกจ่าย และสถานะคงคลังของวัคซีน • คุณภาพระบบลูกโซ่ความเย็น
ข้อเสนอ • การบูรณาการระบบการส่งวัคซีน EPI กับระบบการส่งเวชภัณฑ์ให้กับ รพ.สต. • การประสานระบบรายงานข้อมูล AEFI เพื่อให้เภสัชกร รพ. สามารถบูรณาการระบบข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากวัคซีน สำหรับใช้ในการติดตามและสอบสวนหาสาเหตุของผลิตภัณฑ์