1 / 38

ICD-10 และ การใช้ในการติดตามระบบสุขภาพ

ICD-10 และ การใช้ในการติดตามระบบสุขภาพ. สำหรับการประเมินสถานะสุขภาพ และบริการสุขภาพ. นพ.พินิจ ฟ้าอำนวยผล สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ. Health Outcomes. Health Resources. Input. Outcome. องค์ประกอบของข้อมูลด้านสุขภาพ Components of Health Information. Health Care Deliveries.

dessa
Download Presentation

ICD-10 และ การใช้ในการติดตามระบบสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ICD-10 และการใช้ในการติดตามระบบสุขภาพ สำหรับการประเมินสถานะสุขภาพ และบริการสุขภาพ นพ.พินิจ ฟ้าอำนวยผล สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ

  2. Health Outcomes Health Resources Input Outcome องค์ประกอบของข้อมูลด้านสุขภาพComponents of Health Information Health Care Deliveries Process & Output การใช้บริการ ประสิทธิภาพ คุณภาพ ICD-10 สาเหตุการป่วย พิการ สาเหตุการตาย

  3. Insurance coverage • Seeking pattern • Health care utilization • Cross-boundary,bypass Utilization Accessibility Equity • Equity in service & expenditure • Admission pattern • Case-mix pattern • Referral pattern • Coverage of service • Quality of service Provision Quality • Health expenditure • Unit cost • Financial viability Cost Efficiency ข้อมูลด้านบริการสุขภาพHealth Care Deliveries ICD-10

  4. รหัสสำหรับการวินิจฉัยและหัตถการCoding for diagnosis & operation Cause of illness Cause of death Diagnostic code Incidence Prevalence Mortality Case-fatality Survival DALYs DRG group Reimbursement Cost of treatment Operation code Access to service Quality of care

  5. ประโยชน์ของการให้รหัสโรคประโยชน์ของการให้รหัสโรค • การวินิจฉัยสาเหตุการตาย • ประเมินสาเหตุการตายที่พบบ่อย • การวินิจฉัยโรคในฐานข้อมูลผู้ป่วย • ประเมินสถานการณ์โรคที่พบบ่อย • ประเมินผลลัพธ์ของผู้ป่วยเฉพาะโรค • ประเมินความต่อเนื่องของบริการเฉพาะโรค • ประเมินการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยเฉพาะโรค • ประเมินประสิทธิภาพของบริการเฉพาะโรค • ประเมินความเป็นธรรมของการให้บริการเฉพาะโรค

  6. สาเหตุการตายในใบมรณบัตรสาเหตุการตายในใบมรณบัตร การตายจากโรคหัวใจ

  7. การศึกษาสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ Verbal autopsy study • สาเหตุการตายจากมารณบัตร เทียบกับการศึกษาสาเหตุการตาย Analysed from Causes of death study 1998-2000, MoPH (Chanpen Choprapawan)

  8. การศึกษาสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ Verbal autopsy study • สาเหตุการตายที่ถูกต้องในกลุ่ม ill-defined cause Analysed from Causes of death study 1998-2000, MoPH (Chanpen Choprapawan)

  9. การศึกษาสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ Verbal autopsy study • ความไวของการให้สาเหตุการตายในมรณบัตร % ความครอบคลุมของสาเหตุการตายที่อยู่ในมรณบัตรเมื่อเทียบกับการศึกษา Analysed from Causes of death study 1998-2000, MoPH (Chanpen Choprapawan)

  10. การศึกษาสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ Verbal autopsy study • การให้สาเหตุการตายคลาดเคลื่อน สาเหตุการตายในมรณบัตร HIV 24% Ill-defined causes 13% Other heart dis. 8.5% Other respiratory dis. 5.5% TB 5% Pneumonia 4% HIV (จากการศึกษา) Ill-defined causes 47% CVA 20% Other heart dis. 9% CVA (จากการศึกษา) Analysed from Causes of death study 1998-2000, MoPH (Chanpen Choprapawan)

  11. การศึกษาสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ Verbal autopsy study • การให้สาเหตุการตายคลาดเคลื่อน สาเหตุการตายในมรณบัตร RTA 47% Other accidents 18% Injury code 6% Unknown intention 5% Ill-defined causes 4% RTA (จากการศึกษา) Analysed from Causes of death study 1998-2000, MoPH (Chanpen Choprapawan)

  12. การพัฒนาการให้รหัสสาเหตุการตายในโรงพยาบาลการพัฒนาการให้รหัสสาเหตุการตายในโรงพยาบาล • การใช้ข้อมูลสาเหตุการตายในหนังสือรับรองการตาย (รหัส a, b, c, d) แทนที่สาเหตุการตายสรุปที่เป็นภาษาไทย • การบันทึกรหัสสาเหตุการตาย a, b, c, d ในระบบข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข (ให้รหัสในระดับโรงพยาบาล แต่เลือกสาเหตุการตายโดยส่วนกลาง) • การใช้รหัสโรคในฐานข้อมูลผู้ป่วย ในการประมวลสาเหตุการตาย จากรหัสโรคที่พบในผู้ป่วย (การ

  13. ข้อมูลวินิจฉัยโรคและหัตถการในฐานข้อมูลผู้ป่วยข้อมูลวินิจฉัยโรคและหัตถการในฐานข้อมูลผู้ป่วย สปสช.

  14. สาเหตุการตายของมารดา

  15. ความปลอดภัยของมารดา

  16. อัตราการนอนโรงพยาบาลและอัตราการตายผู้ป่วยในอัตราการนอนโรงพยาบาลและอัตราการตายผู้ป่วยใน กลุ่มโรคเรื้อรัง อัตราการรับไว้รักษาในรพ.ต่อ 100,000 ปชก.UC >15 อัตราการตายของผู้ป่วยที่รับไว้รักษาใน รพ. ต่อ100 สำนักพัฒนาคุณภาพบริการ

  17. อัตราการนอนโรงพยาบาลและอัตราการตายผู้ป่วยในอัตราการนอนโรงพยาบาลและอัตราการตายผู้ป่วยใน กลุ่มโรคเฉียบพลัน อัตราการรับไว้รักษาใน รพ.ต่อ 100,000 ปชก.UC อัตราการตายของผู้ป่วยที่รับไว้รักษาใน รพ. ต่อ100 สำนักพัฒนาคุณภาพบริการ

  18. อัตราการนอนโรงพยาบาลและอัตราการตายผู้ป่วยในอัตราการนอนโรงพยาบาลและอัตราการตายผู้ป่วยใน กลุ่มโรคอัตราตายสูง อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล ต่อ 100,000 ปชก.UC อัตราการตายของผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาล ต่อ100 สำนักพัฒนาคุณภาพบริการ

  19. อัตราการรับเข้ารพ.จากภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน อายุ >15 ปี สำนักพัฒนาคุณภาพบริการ

  20. การเข้าถึงหัตถการ/การผ่าตัด ที่สำคัญ ในโรคหลอดเลือดสมอง *รวมทั้งข้อมูลจาก DMIS อัตราการได้รับหัตถการ/การผ่าตัด ที่สำคัญ ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง อายุ >15 ปี สำนักพัฒนาคุณภาพบริการ

  21. การเข้าถึงหัตถการ/การผ่าตัด ที่สำคัญ ในโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน สำนักพัฒนาคุณภาพบริการ

  22. ไส้ติ่งอักเสบ สำนักพัฒนาคุณภาพบริการ

  23. การบาดเจ็บที่ศีรษะ สำนักพัฒนาคุณภาพบริการ

  24. โรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ * รวมข้อมูลจาก DMIS สำนักพัฒนาคุณภาพบริการ

  25. 1. อัตราป่วยตาย การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • อัตราป่วยตายรายโรค (ปรับค่าตามโครงสร้างอายุ) ข้อมูลปี 2547

  26. 2. อัตรารับผู้ป่วยในซ้ำ การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • อัตรารับผู้ป่วยในซ้ำใน 28วัน รายโรค ข้อมูลปี 2547

  27. 3. จำนวนครั้งที่นอนโรงพยาบาล การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • จำนวนครั้งที่นอนโรงพยาบาลเฉลี่ยต่อปี รายโรค ข้อมูลปี 2547

  28. 4. อัตราการส่งต่อ การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • อัตราการส่งต่อ รายโรค ข้อมูลปี 2547

  29. 5. สัดส่วนผู้ป่วยตามกลุ่มโรค การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • สัดส่วนผู้ป่วยตามวินิจฉัยโรค ข้อมูลปี 2547

  30. 5. สัดส่วนผู้ป่วยตามกลุ่มโรค การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • สัดส่วนผู้ป่วยตามความรุนแรงของ DRG (3,4ในตำแหน่งที่5) ข้อมูลปี 2547

  31. 6. อัตราการทำหัตถการ การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • อัตราการผ่าท้องคลอด ข้อมูลปี 2547

  32. 6. อัตราการทำหัตถการ การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • อัตราการผ่าตัดสมอง กรณีบาดเจ็บทางสมอง ข้อมูลปี 2547

  33. 6. อัตราการทำหัตถการ การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • อัตราการผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจ ข้อมูลปี 2547

  34. 6. อัตราการทำหัตถการ การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • อัตราการผ่าตัดขยายหลอดเลือดหัวใจ รายโรงพยาบาล ข้อมูลปี 2547

  35. 7. น้ำหนักสัมพัทธ์เฉลี่ย การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • สัดส่วนของน้ำหนักสัมพัทธ์เฉลี่ยแต่ละช่วง ข้อมูลปี 2547

  36. 8. ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย ตาม MDC Myeloproliferative Pregnancy, childbirth ข้อมูลปี 2547

  37. 9. วันนอนเฉลี่ย การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • วันนอนเฉลี่ย ตาม MDC Multiple trauma Mental Nervous ข้อมูลปี 2547 Skip Pre MDC

  38. Digestive Pregnancy, childbirth Respiratory Musculoskeletal ENMT Newborn Urinary Circulatory Endocrine 10. สัดส่วนผู้ป่วยในตาม MDC การเปรียบเทียบตัวชี้วัดบริการสุขภาพตามสิทธิการรักษา • สัดส่วนผู้ป่วยใน ตาม MDC ข้อมูลปี 2547

More Related