1 / 50

หัวข้อในการบรรยาย

หัวข้อในการบรรยาย. รู้จักศูนย์อนามัย เป้าหมายของการดำเนินงานด้านแม่และเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีตามยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ นโยบาย การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่ สู่ลูก สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีในหญิงตั้งครรภ์ของเขต

derora
Download Presentation

หัวข้อในการบรรยาย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หัวข้อในการบรรยาย รู้จักศูนย์อนามัย เป้าหมายของการดำเนินงานด้านแม่และเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีตามยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ นโยบายการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีในหญิงตั้งครรภ์ของเขต การดำเนินงานโครงการดูแลและช่วยเหลือเด็กได้รับกระทบจากเอชไอวี/เอดส์ โครงการเอดส์ รอบที่ 10: CHILDLIFE Guidling Theory of Case Management

  2. กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย ศูนย์อนามัย 4

  3. สมุทรปราการ ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด 8จังหวัด 7

  4. ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย*** 2. กลุ่มวัยเรียน 3. กลุ่มวัยรุ่น 4. กลุ่มวัยทำงาน 5. กลุ่มผู้สูงอายุ

  5. ยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ พ.ศ.2555-2559 • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ • เป้าหมาย พ.ศ.2559 • จำนวน ผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง 2 ใน 3 จากที่คาดประมาณ • อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ 2 • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีการเสียชีวิตเนื่องจากเอดส์ • เป้าหมาย พ.ศ.2559 • ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลง>50% • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจาก วัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ 50 • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ • เป้าหมาย พ.ศ.2559 • กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาและบริการรัฐ ได้รับการแก้ไข • การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และสนองตอบต่อความจำเพาะกับเพศสภาวะ • จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิของ ผู้ติดเชื้อฯและกลุ่มประชากรเป้าหมายหลัก ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  6. Getting to zero (ปี 2559)อัตราการติดเชื้อเมื่อแรกเกิดน้อยกว่าร้อยละ 2

  7. เป้าหมายของการลดจำนวนเด็กติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกรายใหม่และอัตราตายของหญิงติดเชื้อเอชไอวี ภายในปี 2559 ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ในเด็กทีติดเชื้อร้อยละ50 1. ลดจำนวนเด็กติดเชื้อรายใหม่ร้อยละ 90 2. ลดจำนวนแม่และเด็กติดเชื้อเอชไอวีที่เสียชีวิตจากเอดส์ร้อยละ 50 -วินิจฉัยการติดเชื้อในเด็กโดยเร็ว -ให้ยาต้านไวรัสเพื่อรักษา -พัฒนาคุณภาพการรักษาให้เด็กได้รับยา กินยาอย่างสม่ำเสมอและลดภาวะแทรกซ้อน Prong 1 target Prong 2 target Prong4 target Prong 3 target *ลดอัตราถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกเหลือร้อยละ 2 แม่และครอบครัวที่ติดเชื้อร้อยละ 95 ได้รับการส่งต่อเข้าสู่ระบบการรักษา ลดอัตราการติดเชื้อรายใหม่ในหญิง15-45 ปีลงร้อยละ 50 ลดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ให้เป็นศูนย์ ( MDG) sarawutboonsuk DOH,MOPH 2555

  8. พัฒนาการของงานป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกพัฒนาการของงานป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก -การให้การปรึกษาแบบคู่ -การให้ยา HAART สำหรับหญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อทุกราย • -ให้ HAART ในแม่ที่ CD4<200, ระยะมีอาการในขณะตั้งครรภ์ • Tail Rx (AZT+3TC x 7 วัน) -DNA PCR ในทารก • AZT + single dose nevirapine (NVP) • ตรวจ CD4 ในระยะก่อนคลอดและทุก 6 เดือน • - การตรวจเลือดหาการติดเชื้อไวรัสเอชไอวีในคู่สมรส(Partner HIV testing ) • การตรวจหาจำนวนซีดีโฟร์หลังคลอด • การดูแลรักษามารดาและครอบครัว (โรคฉวยโอกาส, ยาต้านไวรัส) - การให้ยาสูตรสั้น (AZT ที่อายุครรภ์ 34 สัปดาห์) - การให้การปรึกษาเพื่อตรวจหาการติดเชื้อโดยสมัครใจและเป็นความลับ (VCT) - นมผง (12 เดือน) - การตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อ 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 กระทรวงสาธารณสุขสนับสนุน ทางด้านวิชาการและงบประมาณสำหรับนมผสมในทารกที่คลอดจากแม่ที่ติดเชื้อนาน 12 เดือนระหว่างปี 1993-2009 และ 18 เดือนตั้งแต่ปี 2009 สำนักงานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสนับสนุนงบประมาณสำหรับยาต้านไวรัส CD4 และ การตรวจ PCR ในเด็ก

  9. ข้อแนะนำการให้การปรึกษาแบบคู่โดยกรมอนามัยข้อแนะนำการให้การปรึกษาแบบคู่โดยกรมอนามัย ข้อแนะนำในการตรวจเลือดหญิงตั้งครรภ์และสามีในประเทศไทย • แนะนำให้ หญิงตั้งครรภ์และสามีทุกคนควรได้รับบริการปรึกษาแบบคู่เพื่อ คัดกรองโรคต่อไปนี้ • หญิงตั้งครรภ์ตรวจ Hct/CBC, VDRL, anti HIV, HbsAg, bl gr, Rh, Thalassemia screening • สามีหรือคู่ตรวจ anti HIV, VDRL, thalassemia screening (ในรายที่ภรรยาเป็นพาหะ) • การให้การปรึกษาแบบคู่อาจทำเป็นกลุ่มหรือคู่ก็ได้ กรมอนามัย มีนาคม 2554

  10. อัตราการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงตั้งครรภ์ในประเทศไทย ปีพศ 2532-2552 Source: Serosurveillance, Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health.

  11. นโยบายการดำเนินงานการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 1. สถานบริการสาธารณสุขทุกเครือข่ายควรจัดให้มีบริการปรึกษาทั้งก่อนและหลังการตรวจหาเชื้อเอชไอวี อย่างมีคุณภาพ ควรให้การปรึกษาแบบคู่ (Couple counseling) และเก็บผลการตรวจเป็นความลับอย่างเคร่งครัด โดยแจ้งให้ทราบเฉพาะบุคคล และผู้ที่ได้รับการตรวจหาเชื้อเอชไอวีอนุญาตเท่านั้น 2. หญิงตั้งครรภ์ทุกคนและสามีหรือคู่ครองจะได้รับการปรึกษาแบบคู่ และตรวจหาเชื้อเอชไอวีด้วยความสมัครใจ • หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีจะได้รับการตรวจเซลล์ CD4 • ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์สูง (Highly Active Anti retroviral Therapy : HAART) หรือรักษาด้วยยาต้านไวรัสอื่นๆ ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข

  12. นโยบายการดำเนินงานการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 3. เด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี • จะได้รับยาต้านไวรัสเมื่อแรกเกิด • ได้รับนมผสมสำหรับเลี้ยงทารก • ได้รับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข 4. แม่ ลูก และสามีหรือคู่ครองที่ติดเชื้อเอชไอวี จะได้รับยาต้านไวรัสตามสภาพของการติดเชื้อ การส่งเสริมสุขภาพและการติดตามการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง

  13. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด

  14. ผลการดำเนินงานป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก และการดูแลหญิงหลังคลอดและครอบครัวที่ติดเชื้อเอชไอวี ปี 2550-2554 ศูนย์อนามัยที่ 3

  15. อัตราการติดเชื้อเอชไอวี ในหญิงตั้งครรภ์ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบศูนย์อนามัยที่ 3จำแนกรายปี 2539 – 2554 % แหล่งข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุข /โปรแกรม PHIMS ตั้งแต่ปี 47 รวมนครนายก สมุทรปราการ

  16. ผลการดำเนินงานเอดส์ในแม่และเด็กจำแนกเป็นรายจังหวัดปีงบประมาณ 2554 แหล่งข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุข /โปรแกรม PHIMS/รายงานสรุปการติดตามสุขภาพเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี

  17. ผลการดำเนินงานฝากครรภ์แบบคู่ของ 9 จังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่ 3 ปี 2554 (ตุลาคม 2553 - สิงหาคม 2554)

  18. การดำเนินงานโครงการดูแลและช่วยเหลือเด็กได้รับกระทบจากเอชไอวี/เอดส์ โครงการเอดส์ รอบที่ 10: CHILDLIFE

  19. AIDS R10: Comprehensive HIV/AIDS Care, Support and Social Protection for Affected and Vulnerable Children Living in High Prevalence Area to Achieve Full Potential in Health and Development: CHILDLIFE****************************************************************************โครงการเอดส์ รอบที่ 10 :โครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือ และให้การคุ้มครองทางสังคมแบบองค์รวมสําหรับเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ เด็กด้อยโอกาสและเด็กที่อยู่ในภาวะเปราะบางที่อยู่ในพื้นที่ที่มีความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีสูง

  20. ป้องกันและลดผลกระทบจากเอดส์ในกลุ่มเด็กไทยและเด็กชาติพันธุ์ที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ป้องกันและลดผลกระทบจากเอดส์ในกลุ่มเด็กไทยและเด็กชาติพันธุ์ที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ วัตถุประสงค์ เป้าหมายหลัก • เพื่อส่งเสริมให้เด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ ได้รับบริการที่จำเป็นได้เพิ่มขึ้น ทั้งด้านสุขภาพ สังคม และชุมชนในการจัดบริการที่มีคุณภาพ ให้สามารถสนับสนุนเด็กได้ • เพื่อส่งเสริมให้เด็กที่มีเชื้อเอชไอวีได้รับบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นและต่อเนื่อง • เพื่อประสานนโยบายและสร้างความเข้มแข็งของกลไกทางสังคมในการดูแลปกป้องคุ้มครองสิทธิของเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอชไอวี/เอดส์ • เพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลระดับประเทศ ระบบการติดตามประเมินผลในการป้องกันและลดผลกระทบในกลุ่มเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอชไอวี/เอดส์

  21. ภาพการทำงานโครงการ CHILDLIFE ระหว่าง 3 ระบบ ภาพการทำงานโครง

  22. Guidling Theory of Case Management พญ รังสิมา โล่ห์เลขา, M.D. หัวหน้าหน่วยป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกและการดูแลเด็ก Global AIDS Program Thailand MOPH-US.CDC collaboration

  23. ประวัติความเป็นมาของ case management Case management เริ่มแรกใช้ในคนไข้ ที่มีปัญหาสุขภาพจิต โดยสถาบันสุขภาพจิตแห่งชาติของอเมริกามีการจัดรูปแบบเพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของการให้บริการแก่ผู้รับบริการที่เชื่อมโยงกับสถานพยาบาลและชุมชน ในปีคศ 2007 the Health Resources and Services Administration (HRSA) ให้ทุนสนับสนุนสำนักโรคเอดส์ อเมริกา เพื่อดำเนินโครงการ case management ซึ่งรวมถึงการส่งเสริม treatment adherence ในปีคศ2011 กรมอนามัย PATH ประเทศไทยได้รับการอนุมัติงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนโลก GFATM รอบ 10 ให้จัดทำโครงการ case management ให้หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและเด็กที่ได้รับผลกระทบ จึงมีการพัฒนาระบบ case management ในไทย หัวข้อนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนรูปแบบการทำ case management ที่เกี่ยวข้องกับเอชไอวีที่ทำในต่างประเทศ

  24. ระดับชาติ ในสหรัฐอเมริกา Focus on HIV voluntary testing, primary care, and combination therapy Focus on newly introduced HIV testing and treatment (AZT) Focus on rapid HIV testing, HAART, and increasingly complex specialty care Ryan White HIV/AIDS Treatment Modernization Act of 2006 identifies two types of case management Focused on hospitalizations & end of life care 1980s Late 1980s-Early 1990s Mid to Late 1990s 2000s 2006 2011 ในประเทศไทยได้รับงบประมาณGFATM round 10 เพื่อดำเนินงานเรื่อง case management ให้กับหญิงตั้งครรภ์และเด็กที่ได้รับผลกระทบและติดเชื้อเอชไอวี ในไทย

  25. ความหมายของ case management Florida HIV/AIDS Case Management Operating Guidelines Case management หรือการจัดการรายบุคคลเป็นรูปแบบการทำงานที่ใช้ประสานเชื่อมโยงบริการหลายภาคส่วนโดยมีผู้รับบริการเป็นศูนย์กลางเพื่อให้ผู้รับบริการแต่ละบุคคลได้รับบริการแบบองค์รวมโดยเจ้าหน้าที่ที่มีประสบการณ์และความเข้าใจผู้รับบริการ โดยการให้บริการต่างๆที่สอดคล้องกับความต้องการและปัญหาของผู้รับบริการ ทำให้ผู้รับบริการได้รับการดูแลที่ครบถ้วนทั้งในด้านการแพทย์ ฟัน การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การเดินทาง ที่พัก การช่วยเหลือด้านการเงินและการสนับสนุนอื่นๆ

  26. Case management ในอเมริกามีหลักการคล้ายกันแต่อาจแตกต่างกันในรายละเอียดในแต่ละรัฐขอยกตัวอย่าง:Florida HIV/AIDS Case Management Operating Guidelines ซึ่งมีการทำแนวทางร่วมกับ aids education training center และมีระบบที่ชัดเจน

  27. ผลลัพธ์ที่คาดหวังจากการดำเนินงานcase management สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ในฟลอริดา Florida HIV/AIDS Case Management Operating Guidelines เพื่อให้ผู้ติดเชื้อได้รับบริการเหล่านี้ • เข้าถึงการรักษาทั้งด้านสุขภาพกาย ใจ และสังคม • ได้รับบริการที่มีความเชื่อมโยงของบริการต่างๆที่ดีขี้น • ได้รับบริการอย่างต่อเนื่องยิ่งขึ้น • ได้รับความรู้เกี่ยวกับเอชไอวี • ได้รับแรงกระตุ้นเชิงบวก หากปฏิบัติตนดีจะได้ผลการรักษาที่ดี • สร้างเสริมกำลังใจ • มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

  28. CASE management แบ่งเป็น 2 แบบ Florida HIV/AIDS Case Management Operating Guidelines Comprehensive case management • การให้บริการโดยมีผู้รับบริการเป็นศูนย์กลางให้ผู้รับบริการได้รับบริการที่เชื่อมโยงทั้งในด้านร่างกาย จิต และสังคม เพื่อให้มั่นใจว่าผู้รับบริการได้รับบริการที่ครบถ้วนและต่อเนื่องตามความต้องการและระบบสนับสนุนของแต่ละบุคคล Supportive case management • เป็นการให้ข้อแนะนำและสนับสนุนบริการที่ไม่เกี่ยวข้องกับทางการแพทย์เช่น การสนับสนุนด้านการเงิน ที่พัก อาหาร • เป็นทางเลือกสำหรับผู้รับบริการที่ไม่ต้องการรับบริการ comprehensive case management

  29. Comprehensive case management Florida HIV/AIDS Case Management Operating Guidelines มี 5 กิจกรรมสำคัญต่อไปนี้ (ADCME) 1. การประเมินความต้องการของผู้รับบริการด้านต่อไปนี้ (Assessment) o สุขภาพกาย o จิต สังคม o ความต้องการของผู้รับบริการและการสนับสนุนจากครอบครัว 2. พัฒนาแผนการให้บริการรายบุคคล (Development of a comprehensive service plan) มีการติดต่อผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง 3. เชื่อมโยงและติดตามผู้รับบริการเพื่อให้ได้รับบริการที่ต้องการทั้งในสถานพยาบาลและในชุมชน (Coordination of services required to implement the plan) 4. ติดตาม รวมถึงเยี่ยมบ้านตามจำเป็น (Monitoring to assess the efficacy of the plan) 5. ประเมินผลลัพธ์เป็นระยะๆและปรับแผนตามความจำเป็นของผู้รับบริการ (Evaluation and revision of the plan as necessary over the life of the client)

  30. Comprehensive case management จะรวมถึงการตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการในด้านต่อไปนี้ Florida HIV/AIDS Case Management Operating Guidelines ความกังวลด้านสุขภาพ สิทธิการรักษาพยาบาล ที่อยู่อาศัย โภชนาการ การใช้สารเสพติด สุขภาพจิต ความรุนแรงในครอบครัว

  31. Supportive case management(คล้ายๆ สังคมสงเคราะห์) Florida HIV/AIDS Case Management Operating Guidelines สำหรับผู้รับบริการที่ปัญหาไม่มาก ผู้รับบริการที่ได้รับ comprehensive case management ครบแล้วและอาจมีความต้องการแหล่งสนับสนุนบางอย่างต่อเนื่อง ไม่ต้องทำการประเมินความต้องการทางการแพทย์อย่างละเอียดเหมือนใน comprehensive case management

  32. คุณสมบัติเจ้าหน้าที่ case manager Supportive Case Managers: ผู้ให้บริการที่มีความสนใจในการเป็น case manager โดยไม่ต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนดัง comprehensive case manager Supervisors(หัวหน้างาน): 1. ต้องมีคุณสมบัติครบตาม comprehensive case manager และมีข้อต่อไปนี้ a. ต้องมีประสบการณ์ในการให้บริการ case management b. มีเวลาที่จะทบทวนและอนุมัติความถูกต้องรายงาน case management เพื่อบริหารจัดการงาน c. ให้การสนับสนุนและsupervision แก่ case manager d. อนุมัติการลาของพนักงานหรือจัดหาพนักงานใหม่เมื่อว่างงาน e. มีประสบการณ์การเป็นหัวหน้างานจะยิ่งดีแต่ไม่จำเป็น Comprehensive Case Managers: 1. มีคุณวุฒิที่เหมาะสม • ปริญญาตรีหรือโทในสาขา social science หรือเป็นพยาบาล • ปริญญาตรีสาขาอื่นๆที่มีประสบการณ์การทำ case management อย่างน้อย 6 เดือน • บุคคลอื่นๆที่ปฏิบัติงานในด้านดังกล่าวอย่างต่อเนื่องมาหลายปี 2. อยู่ใต้การดูแลของหัวหน้างาน 3. มีความคุ้นเคยกับแหล่งความช่วยเหลือหรือผู้ปฏิบัติงานในชุมชน

  33. การรักษาความลับของผู้ป่วย Confidentiality Florida HIV/AIDS Case Management Operating Guidelines เนื่องจากในการจัดการรายบุคคล case manager จะรับทราบข้อมูลส่วนตัวของผู้รับบริการและผู้รับบริการต้องให้ความเชื่อใจในการเปิดเผยข้อมูลแก่ผู้ให้บริการ จึงมีการเน้นเรื่องการรักษาความลับของผู้ป่วย Case manager จะได้รับการอบรมเรื่องการรักษาความลับของผู้ป่วย ปีละครั้ง Case manager จะทำข้อตกลงกับสถานพยาบาลล่วงหน้าถึงความเข้าใจในการเก็บข้อมูลผู้ป่วยเป็นความลับ การใช้คอมพิวเตอร์ password การเก็บเอกสาร และบทลงโทษในกรณีที่ไม่รักษาความลับของผู้ป่วย

More Related