1 / 3

การสร้างโอกาสทางอาชีพใน จังหวัดสงขลา สตูล จากการจัดอาชีวศึกษา

 อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมยางและพลาสติก  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพใน จังหวัดสงขลา สตูล จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้. เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น.

derek-finch
Download Presentation

การสร้างโอกาสทางอาชีพใน จังหวัดสงขลา สตูล จากการจัดอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมยางและพลาสติก  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพใน จังหวัดสงขลา สตูลจากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) •  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน •  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. จังหวัดสงขลา สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 524 แห่ง (สปช. 479 แห่ง และ สศ. 45 แห่ง) สังกัด เอกชน 271 แห่ง สังกัด กศน. 16 แห่ง สังกัด สกอ. 6 แห่ง (สาธิต 1 แห่ง) สังกัด สอศ. 9 แห่ง 1. วท.หาดใหญ่ 2. วท.จะนะ 3. วอศ.สงขลา 4. วษท.สงขลา 5. วป.ติณสูลานนท์ 6. วช.สงขลา 7. วก.หลวงประธานราษฎร์นิกร 8. วก.นาทวี 9. วก.สมเด็จเจ้าพะโคะ • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมภาคใต้จังหวัดสงขลา • ทิศใต้มีเขตติดต่อกับรัฐเคดาห์และรัฐเปอร์ลิส • ประเทศมาเลเซีย • ทิศตะวันอก คิดค่อกับทะเลอ่าวไทย • เป็นที่ตั้งของด่านชายแดน อ.สะเดา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 103,785 บาท ต่อปี (อันดับ 2 • ของภาค อันดับ 15 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากสาขาการผลิต • อุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 30.53% รองลงมา • ภาคเกษตร 25.45% • พืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัด • ยางพารา ข้าวนาปีและนาปรัง • ประชากร • จำนวนประชากร 1,302,421 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 106,651 คน หรือ 12.71% • จำนวนผู้ว่างงาน 9,447คน เป็นชาย 3,900คน เป็นหญิง 5,547 คน อัตราการว่างงาน 0.7% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด 254,984 คน 34.62% รองลงมาพนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 142,963 คน หรือ 19.41% และอาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 77,354 คน หรือ 10.50 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอเกาะยอ 2) การเลี้ยงกุ้งขาวในบ่อ • 3) การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากต้นตาลโตนด 4) ผลิตภัณฑ์จากยางพารา • 5) เคลือบรูปวิทยาศาสตร์ 6) แซนวิชม้วน 7) งานประดิษฐ์จากคริสตรัล • 8) การทำขนมพื้นบ้าน 9) กลุ่มน้ำยางข้น 10) การแปรรูปสัตว์น้ำ (ที่มา อศจ.สงขลา) • ประชากรอายุ 15ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 271,566 คน หรือ 36.87% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 224,877 คน หรือ 30.53% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 25,160 คน หรือ 3.42 % ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น -ต่ำกว่าประถมศึกษา465,227 คน หรือ 63.17 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 24,230 คน หรือ 3.29 % สาเหตุจากศึกษา • ต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 184 แห่ง มีการจ้างงาน 27,554 คน รองลงมา อุตสาหกรรมยางและพลาสติก • มีสถานประกอบการ 221 แห่ง มีการจ้างงาน 21,282 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  3. จังหวัดสตูล สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 178 แห่ง (สปช. 165 แห่ง และ สศ. 13 แห่ง) สังกัด เอกชน 22 แห่ง สังกัด กศน. 7 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 3 แห่ง 1.วท.สตูล 2. วษท.สตูล 3.วก.ละงู • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศใต้และทิศตะวันออก มีเขตติกต่อกับรัฐเปอร์ลิส • และรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย • ทิศตะวันตก ติดกับ ทะเลอันดามัน • เป็นที่ตั้งของด่านชายแดน คือ ด่านวังประจันและ • ด่านสตูล (ท่าเรือ) • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 76,823 บาท ต่อปี (อันดับ 6 • ของภาค อันดับ 23 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 45.25 % รองลงมาการผลิต • อุตสาหกรรม 13.47 % และสาขาการขายส่ง • การขายปลีก 13.40 % • พืชเศรษฐกิจของจังหวัด • ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ข้าวนาปี • ประชากร • จำนวนประชากร 277,865 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 25,855 คน หรือ 14.58% • จำนวนผู้ว่างงาน 2,441คน เป็นชาย 1,423คน เป็นหญิง 1,018คน อัตราการว่างงาน 0.9% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด 85,130 คน หรือ 57.16% พนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 18,849 คน หรือ 12.66 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) การปลูกยางพารา 2) การปลูกปาล์มน้ำมัน 3) การประมงชายฝั่ง • 4) การเพาะเลี้ยงกุ้ง 5) อู่ซ่อมเรือ 6) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว • 7) ธุรกิจขนาดย่อมในครัวเรือน 8) อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล • 9) การเลี้ยงสัตว์ 10) การเพาะปลูกผักผลไม้ (ที่มา อศจ.สตูล) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 53,916 คน หรือ 36.20% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 52,773 คน หรือ 35.43% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 13,327 คน หรือ 6.44% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 149,940 คน หรือ 72.47% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 5,415 คน หรือ 2.62% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 21แห่ง มีการจ้างงาน 1,627 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

More Related