140 likes | 331 Views
File : tu110_welcome_10.swf. หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน. Enter Course. คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน. Music Bg. คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ tu110_Objective_10.swf. ยินดีต้อนรับเข้าสู่. รหัสวิชา TU110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร์ ( Integrated Humanities).
E N D
File :tu110_welcome_10.swf หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน Enter Course คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน Music Bg • คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ tu110_Objective_10.swf ยินดีต้อนรับเข้าสู่ รหัสวิชา TU110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร์ (Integrated Humanities) บทที่ 10 : การปฏิรูปจักรี กบฏ รศ.130 และ ปฏิวัติ 2475
File :tu110_Objective_10.swf หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์รายวิชา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… Enter Course คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน • เมื่อคลิกปุ่ม Enter Course เข้าสู่ไฟล์ : tu110 home_10.swf
File :tu110_home_10.swf หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทเรียน สารบัญบท แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม คลิกเลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษา Music Background • เมื่อคลิกปุ่ม แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม ลิงค์ไปยังไฟล์ tu110_10_01 .swf
File :tu110_10_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 • ตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษมีนโยบายขยายเส้นทางการค้าจากอินเดียไปจีน ได้จัดส่งทูตเข้ามาติดต่อตกลงทำสัญญาความสัมพันธ์ทางไมตรีและการค้ากับสยามในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 1 2 กบฏ รศ.130 การปฏิวัติ 2475 การปฏิวัติ 2475 สวัสดีครับมาพบกันครั้งนี้เราจะมาดูกันครับว่าเหตุการณ์การปฏิรูปจักรี กบฏ รศ.130 และ การปฏิวัติ 2475 มีความเป็นมาและมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษมีนโยบายขยายเส้นทางการค้าจากอินเดียไปจีน ได้จัดส่งทูตเข้ามาติดต่อตกลงทำสัญญาความสัมพันธ์ทางไมตรีและการค้ากับสยามในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ และเฟดภาพลำดับที่หนึ่งและสองออกไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ และข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 1 2 2 2 3 4 1 บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ 4 3 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เรือของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ
File :tu110_10_02.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 3 • ตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้เกิดการกรณีพิพาทและสงครามระหว่างชาติตะวันตกกับไทย รวมทั้งรัฐอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ • การปกครองระบบอาณานิคมในพม่าและสหพันธรัฐมลายูของอังกฤษ • การปกครองระบบอาณานิคมในดินแดนอินโดจีนของฝรั่งเศส 1 2 2 3 การปกครองระบบอาณานิคมในพม่า อาณานิคมในดินแดน อินโดจีนของฝรั่งเศส ในช่วงตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้เกิดการกรณีพิพาทและสงครามระหว่างชาติตะวันตกกับไทย รวมทั้งรัฐอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันนำไปสู่การปกครองระบบอาณานิคมในพม่าและสหพันธรัฐมลายูของอังกฤษ และการปกครองระบบอาณานิคมในดินแดนอินโดจีนของฝรั่งเศส • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 3 1 1 2 2 3 3
File :tu110_10_03.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 • ผลกระทบต่อประเทศไทย คือ กลุ่มชนชั้นนำในกรุงเทพฯ ได้เริ่มปรับตัวรับวิทยาการตะวันตกตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลต่อๆ มา มีการยกเลิกธรรมเนียมปฏิบัติเดิมที่ล้าหลังหลายอย่างในสยาม • เริ่มการเปลี่ยนแปลงประเทศตามแนวทางตะวันตกในหลายเรื่อง โดยเฉพาะการปฏิรูปจักรี 1 2 2 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ผลกระทบต่อประเทศไทยคือ กลุ่มชนชั้นนำในกรุงเทพฯ ได้เริ่มปรับตัวรับวิทยาการตะวันตกตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และในรัชกาลต่อ ๆ มา มีการยกเลิกธรรมเนียมปฏิบัติเดิมที่ล้าหลังหลายอย่างในสยาม และเริ่มการเปลี่ยนแปลงประเทศตามแนวทางตะวันตกในหลายเรื่อง โดยเฉพาะการปฏิรูปจักรี • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ และข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 1 1 2 1 2
File :tu110_10_04.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 • การปฏิรูปจักรีมีการปฏิรูประบบการบริหารราชการแผ่นดินในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว • เกิดระบบราชการ จัดตั้งกองทัพสมัยใหม่ ปฏิรูปการจัดเก็บภาษีเข้าสู่ส่วนกลาง ปฏิรูปด้านการศาล • การสร้างการสื่อสารและคมนาคมสมัยใหม่ เช่น การสร้างทางรถไฟกับรถราง จัดตั้งระบบไปรษณีย์ การวางสายโทรเลข โทรศัพท์ • การสร้างความทันสมัยต่าง ๆ เช่น การผลิตไฟฟ้า การจัดชลประทาน การสาธารณสุข การจัดตั้งธนาคาร เป็นต้น เกิดระบบราชการ 1 2 2 3 4 3 การสร้างทางรถไฟกับรถราง 5 การจัดตั้งธนาคาร จัดตั้งระบบไปรษณีย์ การผลิตไฟฟ้า การปฏิรูปจักรีนั้นมีการปฏิรูประบบการบริหารราชการแผ่นดินในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดระบบราชการ จัดตั้งกองทัพสมัยใหม่ ปฏิรูปการจัดเก็บภาษีเข้าสู่ส่วนกลาง ปฏิรูปด้านการศาล สร้างการสื่อสารและคมนาคมสมัยใหม่ เช่น การสร้างทางรถไฟกับรถราง จัดตั้งระบบไปรษณีย์ การวางสายโทรเลข โทรศัพท์ และการสร้างความทันสมัยต่าง ๆ เช่น การผลิตไฟฟ้า การจัดชลประทาน การสาธารณสุข การจัดตั้งธนาคาร เป็นต้น • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • แสดงภาพขึ้นมาให้ครบจากนั้น • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความ และภาพ ลำดับที่ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความ และภาพ ลำดับที่ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความ และภาพ ลำดับที่ กระพริบ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 1 3 1 2 2 2 3 3 3 4 5
File :tu110_10_05.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม ทรงเลิกทาส 2 1 • สิ่งที่เกิดขึ้นกับสังคมเมื่อมีการปฏิรูปจักรี คือ • การเลิกทาสหลายขั้นตอนจากปี 2417-2448 • การออก พ.ร.บ. ลักษณะการเกณฑ์ทหาร ปี 2448 ทำให้ชนชั้นไพร่ทาส ได้กลายเป็นราษฎรไทย • เทียนวรรณ นักหนังสือพิมพ์สมัยรัชกาลที่ 5 เขียนความเห็นและวิจารณ์สังคมและระบบการปกครองในสมัยนั้น ลงในหนังสือพิมพ์ ตุลวิภาคพจนกิจ (2443-2449) และ ศิริพจนภาค (2451) เสนอให้มีการปกครองประเทศในระบบรัฐสภา 1 2 3 ทรงยกเลิกระบบไพร่ 3 เทียนวรรณ การปฏิรูปจักรี ส่งผลกระทบทางสังคมด้วย มีการเลิกทาสหลายขั้นตอนจากปี 2417-2448 รวมทั้งมีการยกเลิกระบบไพร่ ในการออก พ.ร.บ. ลักษณะการเกณฑ์ทหาร ปี 2448 ทำให้ชนชั้นไพร่ทาส ได้กลายเป็นราษฎรไทย ซึ่งมีหน้าที่ประกอบอาชีพเลี้ยงตนเอง แล้วต้องจ่ายภาษีให้รัฐ กับมีหน้าที่ต้องถูกเกณฑ์เป็นทหารประจำการ 2 ปี อย่างไรก็ตาม ปัญญาชนนักหนังสือพิมพ์ในสมัยรัชกาลที่ 5 คนหนึ่งคือ เทียนวรรณ ได้เขียนความเห็นและวิจารณ์สังคมและระบบการปกครองในสมัยนั้น ลงในหนังสือพิมพ์ ตุลวิภาคพจนกิจ และ ศิริพจนภาค ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ของเขาเอง โดยเสนอให้มีการปกครองประเทศในระบบรัฐสภา ซึ่งรัชกาลที่ 5 ทรงไม่เห็นด้วย • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 3 1 2 2 3 3
File :tu110_10_06.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 • รัชกาลที่ 5 ทรงทำการปฏิรูปจักรีตามแนวทางการเมืองตามแบบตะวันตกแต่ทรงไม่เห็นด้วยกับการใช้ระบบรัฐสภา • เกิดเหตุการณ์กบฎ ร.ศ. 130 สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.ศ. 130 ถูกจับกุมได้ก่อนทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง แต่ส่งผลให้ • รัชกาลที่ 6 ทรงจัดตั้งกองเสือป่า และสร้างชาตินิยมไทยโดยให้ต่อต้านชาวจีนในไทย 1 2 2 รัชกาลที่ 5 กบฎ ร.ศ. 130 3 รัชกาลที่ 6 ทรงจัดตั้งกองเสือป่า 3 แม้รัชกาลที่ 5 ทรงทำการปฏิรูปจักรีตามแนวทางการเมืองตามแบบตะวันตก แต่ทรงไม่เห็นด้วยกับการใช้ระบบรัฐสภา ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดเหตุการณ์กบฎ ร.ศ. 130 ของกลุ่มทหารหนุ่มที่มุ่งเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช โดยมีการปฏิวัติซุนยัดเซนเป็นการปฏิวัติล้มราชวงศ์ชิง เกิดสาธารณรัฐจีน เป็นต้นแบบ แม้กบฎ ร.ศ. 130 ถูกจับกุมได้ก่อนทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง แต่ส่งผลให้รัชกาลที่ 6 ทรงจัดตั้งกองเสือป่า และสร้างชาตินิยมไทยโดยให้ต่อต้านชาวจีนในไทย • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 3 1 2 2 3 3
File :tu110_10_07.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม หลังการทำสัญญาเบาว์ริง ก่อนทำสํญญาเบาว์ริง เศรษฐกิจการผลิตเพื่อการค้า เศรษฐกิจแบบยังชีพ เชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจไทยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจโลก สินค้าของป่าและเครื่องเทศหลากหลายชนิดสินค้า ปริมาณน้อยแต่มีราคาสูง 1 5 ไทยต้องเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตด้านการศาลและการคลัง เซอร์จอห์นเบาว์ริง 2 6 9 3 รัชกาลที่ 4 4 7 8 ในด้านเศรษฐกิจนั้น ก่อนการทำสัญญาเบาว์ริง รัฐจารีตไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพ และแสวงหาความมั่งคั่งจากการค้าต่างประเทศโดยมาจากสินค้าของป่าและเครื่องเทศหลากหลายชนิดสินค้า ปริมาณน้อยแต่มีราคาสูง ภายหลังการทำสัญญาเบาว์ริงในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้ทำให้ไทยต้องเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตด้านการศาลและการคลัง และเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจไทยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจโลก • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • ให้แสดงภาพทั้งหมดขึ้นมาจากนั้น • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • กระพริบ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 1 2 3 4 2 5 6 7 8 9
File :tu110_10_08.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม รัชกาลที่ 5 1 สงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามโลกครั้งที่ 1 รายได้หลัก เศรษฐกิจแบบยังชีพ 7 4 7 7 5 คณะปฎิวัติ 2475 รายได้หลัก รัฐบาลไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แก้ปัญหาด้วยการดุลข้าราชการออก ตัดงบประมาณแผ่นดินลง ก่อให้เกิดความไม่พอใจทั่วไป ในที่สุดจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไปสู่ระบอบรัฐธรรมนูญในปี 2475 2 รัชกาลที่ 7 8 ระบอบรัฐธรรมนูญในปี 2475 6 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 3 ได้แก่ สินค้าข้าว ไม้สัก ยางพารา และดีบุก รายได้หลักของประเทศไทยตั้งแต่รัชกาลที่ 5 จนถึงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มาจากการส่งออกสินค้าเกษตรน้อยชนิดแต่มีปริมาณมากแทน ได้แก่ สินค้าข้าว ไม้สัก ยางพารา และดีบุก ดังนั้นในช่วงภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก จึงส่งผลกระทบถึงเศรษฐกิจประเทศไทยด้วย รัฐบาลไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงแก้ปัญหาด้วยการดุลข้าราชการออก ตัดงบประมาณแผ่นดินลง ก่อให้เกิดความไม่พอใจทั่วไป ในที่สุดจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไปสู่ระบอบรัฐธรรมนูญในปี 2475 • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • แสดงภาพและข้อความทั้งหมดพร้อมกัน • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 1 2 3 4 5 2 6 7 8
File :tu110_10_09.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 2 4 • การอภิวัฒน์เป็นระบอบรัฐธรมนูญในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ของคณะราษฎร เกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้ • รัชกาลที่ 7 ทรงยอมรับเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ • เกิดเหตุการณ์กบฎบวรเดช • รัชกาลที่ 7 สละราชสมบัติ • รัฐบาลไทยได้เจรจาแก้ไขยกเลิกสัญญาที่ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตที่ทำไว้กับต่างประเทศได้ทั้งหมด 1 รัชกาลที่ 7 สละราชสมบัติ เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2477 และเสด็จไปประทับที่ต่างประเทศ 2 รัชกาลที่ 7 ทรงยอมรับเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ 3 4 3 เหตุการณ์กบฎบวรเดช 5 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 การอภิวัฒน์เป็นระบอบรัฐธรมนูญในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ของคณะราษฎรนั้น รัชกาลที่ 7 ทรงยอมรับเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่ต่อมาได้ก่อความขัดแย้งกับฝ่ายนิยมเจ้าจนเกิดเหตุการณ์กบฎบวรเดช และการสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นช่วงระยะเวลาเดียวกับที่รัฐบาลไทยได้เจรจาแก้ไขยกเลิกสัญญาที่ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตที่ทำไว้กับต่างประเทศได้ทั้งหมด • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ และข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 3 4 1 1 2 1 2 5 3 4 3 4 4
File :tu110_10_10.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม 1 2 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ตรวจแถวก่อนทหารก่อนทำสงครามชิงดินแดนอินโดจีนคืนจากฝรั่งเศส • รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม นำประเทศไทยเข้าสู่การทำสงครามชิงดินแดนอินโดจีนคืนจากฝรั่งเศส • ประกาศสงครามโลกกับฝ่ายสัมพันธมิตรภายหลังกรณีที่กองทัพญี่ปุ่นขอเดินทัพผ่านประเทศไทย ประเทศไทยลงนามสัญญาพันธมิตรกับญี่ปุ่น (เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา) 1 เครื่องบินที่ใช้ในสงครามอินโดจีน 3 2 4 กองทัพญี่ปุ่นขอเดินทัพผ่านประเทศไทย เมื่อประเทศไทยมีฐานะเสมอภาคกับนานาประเทศในขณะนั้น รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้นำประเทศไทยเข้าสู่การทำสงครามชิงดินแดนอินโดจีนคืนจากฝรั่งเศส และประกาศสงครามโลกกับฝ่ายสัมพันธมิตรภายหลังกรณีที่กองทัพญี่ปุ่นขอเดินทัพผ่านประเทศไทย • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ และข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 1 1 2 1 2 3 4 2
File :tu110_10_11.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา แนวคิดมนุษยนิยมในสยาม การเปลี่ยนแปลงประเทศไทยตามแนวทางตะวันตก 1 2 ระบบสังคมชนชั้น ระบอบการปกครอง แบบสมบูรณาญาสิทธิราชปี 2475 ทางสังคม รัฐจารีต ยกเลิกระบบไพร่ทาส แบบส่งออกต่างประเทศ แบบยังชีพ ทางเศรษฐกิจ ก่อนการปฏิรูปจักรี กบฎ ร.ศ. 130 3 10 10 10 9 4 ระบอบรัฐธรรมนูญ (รัฐสมัยใหม่) 6 5 7 8 สรุปได้ว่าการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยตามแนวทางตะวันตกนับแต่ก่อนการปฏิรูปจักรีได้เปลี่ยนรัฐจารีตเป็นรัฐสมัยใหม่ และเปลี่ยนระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชเป็น ระบอบรัฐธรรมนูญ เริ่มจากการก่อกบฎ ร.ศ. 130 แล้วสำเร็จในการอภิวัฒน์ปี 2475 ในทางสังคมได้เปลี่ยนจากระบบสังคมชนชั้น ยกเลิกระบบไพร่ทาส กลายเป็นราษฎรไทย สำหรับในทางเศรษฐกิจได้เปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพ ไปเป็นเศรษฐกิจแบบส่งออกต่างประเทศ ทำให้เมื่อเกิดเศรษฐกิจตกต่ำภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 จึงส่งผลกระทบกับเศรษฐกิจไทยตามไปด้วย และเป็นสาเหตุส่วนหนึ่งของการอภิวัฒน์ปี 2475 ทั้งหมดที่ได้ศึกษามาทำให้ทราบแล้วว่าการปฏิรูปจักรี กบฏ รศ.130 และ ปฏิวัติ 2475 ทำให้ประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง สำหรับคราวนี้คงมีเพียงเท่านี้ไว้พบกันคราวหน้านะครับ สวัสดี • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความทั้งหมด • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงกล่องข้อความลำดับที่ • กระพริบ 1 2 3 1 4 5 2 6 7 3 8 3 9 9 4 5 4 6 5 7 7 8 6 9 8