190 likes | 367 Views
ทบทวนแผนปฏิบัติการ การดำเนินงานสุขภาพ ภาคประชาชน ปี ๒๕๕๔. วิสัยทัศน์. เป็นองค์กรหลักที่เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคี เครือข่ายให้เกิดการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เพื่อนำไปสู่ การพึ่งตนเองทางด้านสุขภาพของประชาชน. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน ปี 2554
E N D
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักที่เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคี เครือข่ายให้เกิดการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เพื่อนำไปสู่ การพึ่งตนเองทางด้านสุขภาพของประชาชน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน ปี 2554 ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพ อสม.และองค์กร อสม. ยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างบทบาทภาคีเครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนารูปแบบและระบบการจัดการงานสาธารณสุข มูลฐานเพื่อพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาองค์กรและการบริหารจัดการ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ อสม.
1) ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๔ - คณะกรรมการกลาง - คณะกรรมการระดับจังหวัด - หลักสูตรฝึกอบรมมาตรฐาน อสม. - มาตรฐานสมรรถนะของ อสม.
2) ฐานข้อมูล อสม. (ที่มีสิทธิ์รับค่าป่วยการ) - จำนวนฐานข้อมูล รายชื่ออสม. ที่มีสิทธิ์รับเงิน เท่ากับ จำนวนโควตา (ภายใน 10 มิย.54 แจ้งส่วนกลางว่า จังหวัดสามารถหาคนได้ตามโควต้าหรือไม่)
3.)ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพ อสม. 3.1) การอบรมฟื้นฟู อสม. สอ. ละ 18 คน (โอนเงินให้สสจ.แล้ว) ประเมินความรู้ อสม. 5 เรื่อง 3.2) การอบรม อสม.เชี่ยวชาญ งานอนามัย แม่และเด็ก ปี 2554สอ. ละ 2 คน (ยังไม่โอนเงินให้สสจ.) ประเมินความรู้ อสม. เฉพาะเรื่อง
4. การส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุน ชมรม อสม. ให้มีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน 4.1) พัฒนาชมรม อสม. ให้จดทะเบียนเป็นเป็นนิติบุคคล เช่น สมาคม มูลนิธิ ฯลฯ (มีชมรม อสม. ที่เป็นนิติบุคคล 17 จังหวัด)
4.2)การส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุน ชมรม อสม. ให้มีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ประเมินศักยภาพการดำเนินงานชมรม 4.3) พัฒนาการเขียนโครงการขอทุน องค์กรสาธารณะประโยชน์ ดูข้อมูลโครงการ ได้ที่ www.phcblog.net/vhv-c
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ เสริมสร้างบทบาทภาคี เครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน
2.1 ร้อยละของหมู่บ้านมีการจัดการด้านสุขภาพ หมู่บ้านผ่านเกณฑ์ การจัดการสุขภาพ ร้อยละ 84 บันทึกข้อมูลผ่านเว็บไซต์ www.thaiphc.net - โอนเงินให้ อำเภอละ 5,000 บาท และ - จังหวัดละ 10,000 บาท - กอง สช. จัดพิมพ์แบบประเมิน และส่งให้สสจ. ภายในเดือน มิถุนายน 2554
2.๒ ภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน ที่ได้รับการส่งเสริมพัฒนา และสนับสนุนมีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน จังหวัด มีการพัฒนา - ตำบลจัดการสุขภาพ จังหวัดละ 5 ตำบล - โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน จังหวัดละ ๓ แห่ง/ตำบล - โอนเงินให้จังหวัด ตำบลละ ๑๐,000 บาท
2.๓ การเสริมสร้างบทบาทภาคีเครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ บันทึกข้อมูลแผนสุขภาพตำบล ได้ที่ www.thaiphc.net
2.๔ การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการจัดระบบเฝ้าระวังโรคที่เป็นภัยคุกคามสุขภาพชุมชน (ไข้หวัดใหญ่ 2009) จังหวัด มีการพัฒนาตำบลจัดการเฝ้าระวังโรคที่เป็นภัยคุกคาม จังหวัดละ ๓ตำบล - โอนเงินให้จังหวัด ตำบลละ ๑๐,000 บาท
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนารูปแบบและระบบการจัดการงานสาธารณสุขมูลฐาน เพื่อพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน
๓.๑ การพัฒนาการศึกษา ขั้นพื้นฐานของ อสม. อบรมครูประจำกลุ่ม กศน. อำเภอละ 2 คน