990 likes | 2.51k Views
แผนระงับเหตุฉุกเฉิน. TOC EMERGENCY RESPONSE PLAN. JUNE 25, 2004. 1. คำจำกัดความ :. เหตุฉุกเฉิน :. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยมิได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ทั้งในพื้นที่ TOC และบริษัทใกล้เคียง อันอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคล หรือความ
E N D
แผนระงับเหตุฉุกเฉิน TOC EMERGENCY RESPONSE PLAN JUNE 25, 2004
1. คำจำกัดความ : เหตุฉุกเฉิน : เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยมิได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ทั้งในพื้นที่ TOC และบริษัทใกล้เคียง อันอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคล หรือความ เสียหายต่อทรัพย์สิน หรือส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หรือธุรกิจ ของ TOC แบ่งเป็น เหตุฉุกเฉินจำแนกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ไฟไหม้ / ก๊าซไวไฟรั่ว / ระเบิด 2. ก๊าซพิษรั่ว 3. สารไวไฟ / สารเคมี หกล้น รั่วไหล ปริมาณมาก
2. ระดับความรุนแรงของเหตุฉุกเฉิน : ระดับ # 1 เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นซึ่งหัวหน้ากะฝ่ายการผลิต พิจารณาแล้วเห็นว่า เหตุการณ์จะไม่ขยายตัวออกไป สามารถควบคุม หรือระงับได้โดยฉับพลันด้วยพนักงานประจำกะ
ระดับ # 2 เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้น ซึ่งหัวหน้ากะฝ่ายการผลิต พิจารณาแล้ว เห็นว่าเป็นเหตุการณ์รุนแรง ไม่สามารถควบคุมให้เข้าสู่สภาวะ ที่ปลอดภัยได้ภายในระยะเวลาอันสั้นด้วยพนักงานประจำกะ จำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนจากพนักงาน และผู้บริหาร ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับแผนฉุกเฉิน รวมทั้งความช่วยเหลือ จาก EMAG (ROC, NPC, ARC, VNT, PTT, ATC) ถ้าจำเป็น
ระดับ # 3 เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้น ซึ่งหัวหน้ากะฝ่ายการผลิต หรือ EMERGENCY DIRECTOR ; ED พิจารณาแล้วเห็นว่า เป็นเหตุการณ์ที่รุนแรงมาก ไม่สามารถระงับได้ด้วยพนักงานและอุปกรณ์ของบริษัท รวมทั้ง ทีมดับเพลิงและอุปกรณ์ดับเพลิงจาก EMAG หรือมีแนวโน้มจะส่ง ผลกระทบต่อสาธารณะชน จำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจาก หน่วยงานราชการ และหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง โดยเข้าสู่แผน ฉุกเฉินจังหวัดระยอง หมายเหตุ : เงื่อนไขการตัดสินใจประกาศเหตุฉุกเฉินระดับต่าง ๆ ให้พิจารณา ได้จาก “แนวทางการตัดสินใจประกาศระดับเหตุฉุกเฉิน”
แนวทางการตัดสินใจประกาศระดับเหตุฉุกเฉิน (เงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่ง หรือ เงื่อนไขร่วมกัน) ITEM เงื่อนไขการตัดสินใจ EM-1 EM-2 EM-3 1. จุดเกิดเหตุ ภายในโรงงาน ภายใน หรือ ภายใน หรือ ภายนอกโรงงาน ภายนอกโรงงาน (โรงงานข้างเคียง) (โรงงานข้างเคียง) 2. ผลการพิจารณาว่าขอบเขต/ ไม่ขยายตัว / ขยายตัว/ลุกลาม ขยายตัว/ลุกลาม บริเวณของพื้นที่เกิดเหตุ ไม่ลุกลาม 3. กำลังคนและอุปกรณ์ในการ - เฉพาะ พนง. กะ - พนง. กะ + ทีม - พนง.กะ + ทีม ระงับเหตุที่จะควบคุม (Operator, Lab สนับสนุนภายใน สนับสนุนภายใน เหตุการณ์ได้ Fire Station, และ/หรือ EMAG + EMAG + ทีม รปภ.) สนับสนุนภายนอก (ราชการ/เอกชน)
ITEM เงื่อนไขการตัดสินใจ EM-1 EM-2 EM-3 4. ระยะเวลาที่เหตุเกิดต่อเนื่อง สั้น ยาวนาน ยาวนาน 5. การบาดเจ็บ, เสียชีวิตจากเหตุที่เกิด ไม่มี มี มี 6. บุคคลภายนอกปฏิบัติงานอยู่ / อยู่ใน ไม่มี มี มี พื้นที่ จำนวนมาก เช่นผู้รับเหมา, Visitor 7. ที่จุดเกิดเหตุปรากฏให้เห็นควัน, ไม่ปรากฏ ปรากฏ ปรากฏ เปลวไฟ, ไอระเหย, เสียงดัง, การ รั่วไหลหกล้น (รางระบาย) ให้ ภายนอกเห็นได้
ITEM เงื่อนไขการตัดสินใจ EM-1 EM-2 EM-3 8. การ S/D Unit และ/หรือ S/D Plant ที่ ไม่มี มี มี กระทบกระบวนการผลิต ทำให้ต้องลดหรือ หยุดรับ – ส่ง Feed / Product 9. การเข้ามาของสื่อมวลชน, ข้าราชการ / ไม่มี มี มี เจ้าหน้าที่ของรัฐ, แรงกดดันจากโรงงาน ข้างเคียง 10. ความช่วยเหลือจากทีมสนับสนุน ไม่ต้องการ ต้องการ ต้องการ (ภายใน /ภายนอก)
3. ภาพรวมของการเข้าสู่แผนฯ (Principle) 1. ผู้ประสบเหตุกดปุ่มสัญญาณเตือนภัย หรืออุปกรณ์เตือนภัยอัตโนมัติทำงาน 2. เสียงสัญญาณเตือนภัยดัง เข้าสู่สภาวะเตรียมพร้อม 3. พนักงานห้องควบคุมประกาศเสียงตามสาย แจ้งข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการ ได้รับสัญญาณเตือนภัย 4. เจ้าหน้าที่จาก OPERATION / FIRE STATION ตรวจสอบหน้างาน 5. หน.กะฝ่ายการผลิตประเมินสถานการณ์ว่าไม่มีเหตุการณ์ / มีเหตุการณ์ระดับ EM 1, 2, 3 6. ถ้าไม่มีเหตุการณ์ หรือมีเหตุการณ์ระดับ EM 1 ประกาศเสียงตามสาย 7. ถ้ามีเหตุการณ์ระดับ EM 2, 3 ห้องควบคุมกดสัญญาณแจ้งเหตุเข้าสู่สภาวะ ฉุกเฉิน และห้องควบคุมประกาศเสียงตามสายแจ้งเหตุการณ์ - ผู้เกี่ยวข้องเข้าปฏิบัติหน้าที่ตามแผนระงับเหตุฉุกเฉิน - ผู้ไม่เกี่ยวข้องไปที่จุดรวมพลที่กำหนด หรือจุดรวมพลที่ใกล้ที่สุด (ยกเว้นกรณีก๊าซพิษรั่วให้เข้าภายในอาคารที่ใกล้ที่สุด รอฟังประกาศ)
4. ผังโครงสร้างบังคับบัญชาเหตุฉุกเฉิน (Emergency Organization Chart) EMERGENCY DIRECTOR COMMAND ROOM OFFICER MANAGEMENT TEAM MUTUAL AID CO-ORDINATOR ONSCENE COMMANDER EMERGENCY ADVISOR COMMAND ROOM SECRETARY EMERGENCY CONTROLLER EXTERNAL SUPPORT TEAM INTERNAL SUPPORT TEAM - SECURITY TEAM - MATERIAL & TECHNICAL TEAM - MAINTENANCE TEAM - COORDINATION TEAM FIRE CHIEF FIRE LEADER- 1 FIRE LEADER- 2 FIRE LEADER -3 FIRE & RESCUE TEAM FIRE& RESCUE TEAM FIRE &RESCUE TEAM
5. สัญญาณเตือนภัย & ขั้นตอนปฏิบัติ (Warning Alarm & Action Step) AUTOMATIC (DETECTION) MANUAL (PUSH BUTTON) เสียง SIREN ประกาศ ตรวจสอบหน้างาน FAULT ALARM/ไม่มีเหตุการณ์ EM 1 : ระงับได้เอง EM : 2 ต้องการทีมสนับสนุนจาก TOC / EMAG EM : 3 ต้องเข้าสู่แผนฉุกเฉินจังหวัด AUDIBLE ALARM (CLEAR) ประกาศ EM 1 เหตุการณ์/สถานการณ์ AUDIBLE ALARM ประกาศผลการตรวจสอบ ส่ง SMS “EM 1” ประกาศ EM 2, 3 เหตุการณ์/สถานการณ์ ให้ทำอะไร ส่ง SMSรายงาน เมื่อเหตุการณ์ยุติ AUDIBLE ALARM (CLEAR) รายงาน INCIDENT/ACCIDENT ส่ง SMSรายงาน ส่ง SMSรายงาน
6. หน้าที่ตามโครงสร้างบังคับบัญชาเหตุฉุกเฉิน (ตามลำดับ : จากล่างขึ้นบน) • EMERGENCY DIRECTOR ; ED • 1. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานการผลิต • 2. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานการบริหาร • 3. ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ • 4. ผู้จัดการฝ่ายการผลิต • 5. ผู้จัดการฝ่ายที่ปฏิบัติงานDuty Rota • 6. ผู้จัดการฝ่ายที่อยู่ในเหตุการณ์ • 7.SHIFT SUPERINTENDENT ON DUTY
6. หน้าที่ตามโครงสร้างบังคับบัญชาเหตุฉุกเฉิน (ต่อ) • COMMAND ROOM OFFICER ; CO • 1. SECURITY & FIRE FIGHTING DIVISION MANAGER • 2. DAY SUPERINTENDENT • ON SCENE COMMANDER ; OC • 1. SHIFT SUPERINTENDENT ON DUTY • EMERGENCY ADVISOR ; EA • 1. SECURITY & FIRE FIGHTING SECTION MANAGER • 2. SHIFT SUPERINTENDENT (OFF SHIFT)
6. หน้าที่ตามโครงสร้างบังคับบัญชาเหตุฉุกเฉิน (ต่อ) • MUTUAL AID CO-ORDINATOR ; MC • 1. SAFETY ENVIRONMENT & HEALTH DIVISION MANAGER • 2. SAFETY ENVIRONMENT & HEALTH SECTION MANAGER • 3. DUTY ROTA TEAM (DIVISION MANAGER) • 4. LAB SUPERVISOR ON DUTY
7. ระบบการสื่อสาร (Communication) - WARNING ALARM : SIREN & AUDIBLE ALARM - WALKIE - TALKIE : EMERGENCY CHANNEL - MOBILE TELEPHONE : DUTY ROTA TEAM - INTERCOM : RESTRICTED & ADMIN AREA - SMS (GROUPING) : M = MANAGEMENT R = DUTY ROTA TEAM C = ON CALL TEAM K = KEY MAN
8. การฝึกซ้อม 2 ครั้ง/ปี 9. การปรับปรุง / ทบทวน - อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง - หลังจากซ้อมแผนฯ - หลังจากเกิดเหตุฉุกเฉิน (จริง)