1 / 48

ศิลปะการบริหารงานของหัวหน้างาน

ศิลปะการบริหารงานของหัวหน้างาน. โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิ กองบัญชาการกองทัพไทย. คำถาม?. ศิลปะการบริหารงาน ของหัวหน้างาน. วิเคราะห์ศัพท์. ศิลปะ : ฝีมือ เทคนิค วิธีการ บริหาร : ดำเนินการ จัดการ หัวหน้างาน : ทุกตำแหน่งที่มีคำว่า “หัวหน้า”. สรุปชื่อเรื่องเป็น.

deacon
Download Presentation

ศิลปะการบริหารงานของหัวหน้างาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศิลปะการบริหารงานของหัวหน้างานศิลปะการบริหารงานของหัวหน้างาน โดย พลตรี เอนก แสงสุกผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย

  2. คำถาม?

  3. ศิลปะการบริหารงานของหัวหน้างานศิลปะการบริหารงานของหัวหน้างาน

  4. วิเคราะห์ศัพท์ • ศิลปะ : ฝีมือ เทคนิค วิธีการ • บริหาร : ดำเนินการ จัดการ • หัวหน้างาน : ทุกตำแหน่งที่มีคำว่า “หัวหน้า”

  5. สรุปชื่อเรื่องเป็น • ฝีมือการจัดการงานของหัวหน้างาน • เทคนิควิธีการบริหารงานของหัวหน้างาน

  6. หัวข้อบรรยาย • ความหมายและหัวใจของการบริหารงาน • เทคนิควิธีปฏิบัติต่อ “คน” • เทคนิควิธีปฏิบัติต่อ “งาน” • เทคนิควิธีปฏิบัติต่อ “เวลา” • เทคนิควิธีปฏิบัติต่อ “ทรัพยากร” • สรุป

  7. ความหมายและหัวใจการบริหารความหมายและหัวใจการบริหาร • วิธีการใช้ “คน เงิน เวลา ทรัพยากร”ให้บรรลุภารกิจได้ดีที่สุด • การบริหาร “คน” สำคัญที่สุด • “ใจ” สำคัญที่สุดในคน

  8. ครอง “ใจ” ได้ ก็ครอง “คน” ได้ • จะ “ครองใจ” ได้ ต้อง “จริงใจ” • จะ “จริงใจ” กับคนอื่น ต้อง “จริงใจ”กับตัวเองก่อน • เวลา : กำหนดความสมบูรณ์ของงาน ใช้ควบคุมงาน • ทรัพยากร : รถยนต์ น้ำมัน ฯลฯ

  9. เทคนิควิธีปฏิบัติต่อ “คน” • คนแบ่งเป็น 4 พวก คือ1. ตัวเรา2. นาย3. ลูกน้อง4. ระดับเดียวกัน

  10. เราเป็นทั้ง “หัวหน้า” และ “ลูกน้อง” • เราอยากมี “นายดี” ลูกน้องก็อยาก • เราไม่ชอบ “นาย” แบบไหน ลูกน้องก็ไม่ชอบแบบนั้น

  11. การปฏิบัติต่อตนเอง • ยึดคติเตือนใจ ทางโลก – ทางธรรม • ทำตัวเป็นตัวอย่าง • การแต่งกาย • การตรงต่อเวลา • การใช้โทรศัพท์ • การรักษาความสะอาด

  12. การประหยัด • การกู้ยืม เล่นหวย • ไม่สวมรองเท้าแตะ • มนุษย์สัมพันธ์ • ของขวัญวันเกิด • ใช้หลักธรรมะ

  13. ตั้งใจว่าจะไม่โกรธ • จะช่วยเท่าที่ช่วยได้ • ไม่มองส่วนไม่ดีของคน • ยึดกรรมบท 10 • แก้ที่คนอื่นยาก ต้องแก้ที่ใจเรา

  14. ตั้งใจพัฒนาจิตใจให้มี “จริยธรรม”“คุณธรรม” “ศีลธรรม” • รับการแสดงความเคารพอย่างตั้งใจ • ไม่รับสินบน

  15. การปฏิบัติต่อนาย • ซื่อสัตย์ จริงใจ • รายงานเรื่องที่ทำการแทน • ช่วยคิดเรื่องให้ นาย ไปตอบ นาย • ไม่งอนเมื่อถูกนายโกรธ

  16. ไม่เถียงนายต่อหน้าคนอื่นไม่เถียงนายต่อหน้าคนอื่น • ไม่ต้องให้นายสั่งทุกเรื่อง • ไม่ก้าวก่ายเรื่องส่วนตัว • ไม่สนับสนุนให้นายทำผิด • ไม่ทำผิดจนเดือดร้อนถึงนาย • อยู่หน้าห้องนาย ไม่แสวงประโยชน์

  17. ไม่ตอบนายว่า “ไม่ทราบ” เสมอ • กล้าพูด กล้าถาม • กล้าเสนอแนะ • ทำใจให้พร้อมรับคำตำหนิ • ชี้แจงเหตุผลเมื่อนาย “เย็นลง” • วาดภาพล่วงหน้าเสมอ

  18. การปฏิบัติต่อลูกน้อง • ให้ความเป็นธรรม ไม่ลำเอียง • พูดให้กำลังใจ • รักษาน้ำใจ • เห็นใจความจำเป็นส่วนตัว • ดีใช้ ไข้รักษา • ใช้คนให้เหมาะกับงาน

  19. ตำหนิแบบสอน ตัวต่อตัว • ไม่ตำหนิในที่ประชุม • ไม่ทำลายบรรยากาศที่ทำงาน • ขอโทษ ถ้าเราทำผิด • ให้เกียรติคนแก่ด้วยคำพูด • ลูกน้องทำผิด ดูที่ตัวเองก่อน

  20. ไม่โทษลูกน้องเมื่อถูกนายตำหนิไม่โทษลูกน้องเมื่อถูกนายตำหนิ • ทำตัวเป็น “ครู” และ “แม่” • สนับสนุนผู้หารายได้เสริม • กล่าวชมเชยเสมอ ๆ • ดูให้มีเครื่องมือเพียงพอ • ใช้งานไปข้างนอก ให้ค่าใช้จ่าย

  21. ปกป้อง สนับสนุน ลูกน้องที่ดี • ตักเตือน ลงโทษ ลูกน้องที่ทำผิด • เสียสละให้ลูกน้องบ้าง • เลี้ยงลูกน้องในโอกาสอันควร • พาไปเที่ยวต่างจังหวัดบ้าง • ไปร่วมงานศพ งานแต่งฯ งานบวช

  22. มีอารมณ์ขันบ้าง • สนับสนุนให้ก้าวหน้า ไม่ดึงตัวไว้ • ไม่ยืมเงินลูกน้อง ไม่ให้ลูกน้องยืม • วางตัวให้เป็น พี่ เพื่อน ครู พ่อแม่ • ทำให้ลูกน้องสามัคคีกัน • ประสานรอยร้าวระหว่างลูกน้อง

  23. ไม่หนีปัญหา กล้าตัดสินใจ • รู้หน้าที่ของตัวเอง • เยี่ยมลูกน้องที่ทำงานวันหยุด • ปฐมนิเทศคนใหม่ด้วยตัวเอง • กล้าพูดสนับสนุน ปกป้องลูกน้องในที่ประชุม • ไม่ทำให้เกิดคำพูดว่า“คนนี้เป็นเด็กรา”

  24. การปฏิบัติต่อหัวหน้าระดับเดียวกันการปฏิบัติต่อหัวหน้าระดับเดียวกัน • ให้เกียรติ ไม่ก้าวก่าย ใช้“ประสาน” “ขอความร่วมมือ” • ไม่อิจฉา ริษยา ชิงดีเด่น แล้งน้ำใจ • จริงใจต่อกัน ร่วมทำงานเป็นทีม • ทำให้ลูกน้อง 2 หน่วยสามัคคีกัน

  25. แข่งกันทำงาน ไม่แข่งเอาหน้า • หัวหน้าถูกกัน ลูกน้องสบายใจ • หัวหน้ากัดกัน ลูกน้องอึดอัดใจ • นายของเรา ก็ลำบากใจไปด้วย • จะใช้ลูกน้องเขา ควรบอกเขาด้วย

  26. การปฏิบัติต่อ “งาน” • งานแบ่งเป็น1. งานทั่วไป2. งานเอกสาร3. งานให้บริการลูกค้า/ผู้รับบริการ

  27. การปฏิบัติงานทั่วไป • ต้องรู้ภารกิจหน้าที่ของหน่วยนโยบาย ผบช. • หัวหน้าเล็ก ต้องรู้ลึก แต่ไม่ต้องรู้หมด • หัวหน้าใหญ่ ต้องรู้หมด แต่ไม่ต้องรู้ลึก

  28. เรื่องเกียวกับหน่วยงานที่ควรมีเอกสารอยู่กับตัว- อัตราการจัดหน่วย- หน้าที่ของหน่วย บุคคล- ปฏิทินการปฏิบัติงาน- บัญชีกำลังพล- บัญชีโทรศัพท์- รปจ.ของหน่วย- ระเบียบของหน่วย

  29. บริหารโดย “สั่งการ” “กำกับดูแล” • ยึด “หลักการ” ไม่ใช้ “หลักกู” • ทำตัวเป็น “เทรนเนอร์” • ไม่หนีงาน • ดูแลให้มี “คน” “เครื่องมือ” เพียงพอ • กระตุ้นลูกน้องให้ตื่นตัวเสมอ • ใช้ทั้ง “พระเดช” และ “พระคุณ” • ต้อง “กล้าคิด” “กล้าพูด”

  30. มองภาพรวมอยู่เสมอ- ทำตามหน้าที่ครบหรือยัง- มีวิธีทำให้ เร็ว มาก สะดวก กว่านี้ไหม • นึกถึง “ลูกค้า/ผู้รับบริการ” เป็นหลัก • ทำอย่างไรจะช่วยเขาคลายทุกข์ได้ มาก เร็ว สะดวก ยิ่งขึ้น

  31. หมั่นประชุมเป็นนิจ • ไม่คิดและพูดว่า“เขาก็ทำกันมายังงี้” • คิดที่จะ “พัฒนา” “ปรับปรุง” อยู่เสมอ • ประสานด้วยวาจาให้มาก เพื่อลดเวลา ทำหนังสือเท่าที่จำเป็น

  32. การปฏิบัติงานเอกสาร • มีสติ จัดลำดับความเร่งด่วน • กระจายงาน แบ่งงาน ไม่แบ่งหมด • ควบคุมงานของหน่วย ไม่ให้เสมียนคุม • มีเอกสารอ้างอิงไว้ใกล้ตัว • ไม่หวงข้อมูล ทำให้นาย บอกลูกน้อง • ทำแฟ้มนโยบาย ผบช.

  33. ทำงานเองได้ ถ้าลูกน้องไม่อยู่ • ไม่ซุกเรื่อง ดองเรื่อง • เซ็นแล้วต้องรับผิดชอบ • นายชม ยกความดีให้ลูกน้อง • แจ้งให้ทราบทั่วกันทั้งคำชม-ตำหนิ • ไม่โกรธหน้าห้องที่แก้หนังสือเรา • เรื่องด่วน ต้องรู้วิธีลัด

  34. ให้เกียรติหน้าห้องนายแม้เด็กกว่าให้เกียรติหน้าห้องนายแม้เด็กกว่า • ต้องร่างได้ พิมพ์ได้เอง • ไม่ฉีกร่างของลูกน้องทิ้งทั้งฉบับ • ไม่แก้หนังสือด้วยปาก ควรเขียนให้ • เรื่องด่วนไม่ต้องรอตามขั้นตอน • อย่าแช่แฟ้มบนโต๊ะ • เรื่องด่วนบอกนายก่อน ค่อยทำหนังสือ

  35. งานให้บริการลูกค้า/ผู้รับบริการงานให้บริการลูกค้า/ผู้รับบริการ • กระตุ้นจิตสำนึกว่า“เราจะทำงานเพื่อลูกค้า” • “ถ้าไม่มีเขา ก็ไม่มีเรา” • คิดว่าลูกค้าเป็นผู้มีคุณของเรา

  36. เน้นการต้อนรับ การพูด การอดกลั้นความไม่พอใจ • ไม่ทำตัวเป็น “เจ้านาย” • คนไม่ดีย่อมมีทุกวงการ ต้องทำใจไม่เหมารวม

  37. การปฏิบัติต่อ “เวลา” • เราใช้ 1 ส่วน ลูกน้องใช้ 2 ส่วน • จัดลำดับงานตามเวลาแล้วเสร็จ • ปรับลำดับงานเสมอ • ใช้เวลาควบคุมงาน • แบ่งเวลาให้เหมาะสม

  38. ทำงานสำคัญตอนเช้า • ทำปฏิทินปฏิบัติงาน • ใช้ตารางนัดหมายไวท์บอร์ด • เสียสละเวลาส่วนตัวเมื่อจำเป็น

  39. การปฏิบัติต่อ “ทรัพยากร” • สำรวจสิ่งของตามอัตรา • เบิกให้ครบ ส่งซ่อม จัดหา • ใช้แบบรวมการ • กำหนดผู้รับผิดชอบ • เบิกของล่วงหน้า

  40. เสียสละเงินส่วนตัวเมื่อจำเป็นเสียสละเงินส่วนตัวเมื่อจำเป็น • ช่วยกันประหยัด • ใช้กระดาษเสียให้คุ้มค่า • กำหนด รปจ.ในการใช้ทรัพยากร • นำวัสดุกลับมาใช้ใหม่

  41. สรุป • การบริหารงาน คือ วิธีการใช้ “คน เงิน เวลา ทรัพยากร” ให้บรรลุภารกิจได้ดีที่สุด • การบริหาร “คน” สำคัญที่สุด • “ใจ” สำคัญที่สุดในคน ครอง “ใจ” ได้ ก็ครอง “คน” ได้ • จะ “ครองใจ” ได้ ต้อง “จริงใจ” • จะ “จริงใจ” กับคนอื่น ต้อง “จริงใจ”กับตัวเองก่อน

  42. จบแล้วครับ เชิญพักได้

  43. กิจกรรมกลุ่ม • ให้แต่ละกลุ่มเสนอแนวความคิดในการนำเรื่อง เทคนิคการบริหารงานและการสื่อสารเพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ที่ได้ฟังบรรยายไปใช้กับงานใน หน้าที่รับผิดชอบในปัจจุบันให้เกิดเป็นรูปธรรม • ใช้เวลาระดมความคิด 20 นาที • ใช้เวลานำเสนอกลุ่มละ 5 นาที

  44. กิจกรรมกลุ่ม • ให้แต่ละกลุ่มระดมความคิดเพื่อนำเสนอตัวอย่างพฤติกรรมของหัวหน้างานที่บริหาร คน งาน เวลา ทรัพยากร ไม่เหมาะสม และแนวทางแก้ไข • ใช้เวลาระดมความคิด 30 นาที • ใช้เวลานำเสนอกลุ่มละไม่เกิน 5 นาที

More Related