570 likes | 1.04k Views
การจำแนกสะพาน (Bridge Classification). ผู้ดำเนินการได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านสะพาน. จำแนกตามสภาพการใช้งาน. จำแนกตามลักษณะใช้งาน. ต้องบำรุงปกติ. ใช้งานได้ พิจารณาซ่อมบำรุง. ต้องทำการซ่อมแซมและเสริมกำลัง. ก่อสร้างส่วนเสียหายใหม่. การจำแนกตามสภาพการใช้งาน. ดี. สำรวจและถ่ายภาพสะพาน. พอใช้.
E N D
การจำแนกสะพาน (Bridge Classification) ผู้ดำเนินการได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านสะพาน • จำแนกตามสภาพการใช้งาน • จำแนกตามลักษณะใช้งาน
ต้องบำรุงปกติ ใช้งานได้ พิจารณาซ่อมบำรุง ต้องทำการซ่อมแซมและเสริมกำลัง ก่อสร้างส่วนเสียหายใหม่ การจำแนกตามสภาพการใช้งาน ดี สำรวจและถ่ายภาพสะพาน พอใช้ ชำรุด แยกสะพานตามสภาพการใช้งาน และทำการสำรวจอย่างละเอียด ชำรุดมาก ทำการสำรวจอย่างละเอียด พร้อมข้อเสนอแนะการแก้ไข
การแบ่งระดับสภาพการใช้งานของสะพานการแบ่งระดับสภาพการใช้งานของสะพาน
ผิวบนโครงสร้างส่วนบน สภาพดีระดับ 5 ขยายส่วนผิวบน สะพานใหม่เพิ่งเปิดการใช้งาน
ผิวบนโครงสร้างส่วนบน สภาพพอใช้ระดับ 4 แตกกะเทาะผิวบาง สภาพผิวเสื่อมปูนทรายหลุดร่อนระดับผิวหิน
ผิวบนโครงสร้างส่วนบน สภาพพอใช้ระดับ 3 กะเทาะผิวบาง และสึกเป็นหย่อม สภาพเก่ามาก สึกเบาบาง
ผิวบนโครงสร้างส่วนบน สภาพชำรุดระดับ 2 ผิวเก่าสึกผิวหินและเป็นหลุมตื้นขนาดเล็กจำนวนมาก แผลกะเทาะขนาดใหญ่กลางพื้นสะพาน
ผิวบนโครงสร้างส่วนบน สภาพชำรุดระดับ 1 คอนกรีตทับหน้าแตกกะเทาะเสียหายเป็น บริเวณกว้าง คอนกรีตทับหน้าแตกกะเทาะเสียหายเป็นบริเวณ กว้างเทปิดทับด้วยผิวลาดยาง
ผิวบนโครงสร้างส่วนล่างผิวบนโครงสร้างส่วนล่าง สภาพดีระดับ 5 Pile Bent มีคาน Bracing สภาพใหม่ Pile Bent สภาพดีใหม่
ผิวบนโครงสร้างส่วนล่างผิวบนโครงสร้างส่วนล่าง สภาพพอใช้ระดับ 4 มีคราบชะล้างคานหัวเสา ซ่อมพอกโคนเสา เสาตอม่อและคานหัวเสาเก่ามีคราบชะล้างค่อนข้างรุนแรง
ผิวบนโครงสร้างส่วนล่างผิวบนโครงสร้างส่วนล่าง สภาพพอใช้ระดับ 3 ตอม่อชะลูด จากดินท้องคลองถูกน้ำกัดเซาะ ตอม่อริม มีคราบชะล้างรุนแรง
ผิวบนโครงสร้างส่วนล่างผิวบนโครงสร้างส่วนล่าง สภาพชำรุดระดับ 2 ภาพขยายจุดต่อสึกเป็นโพรงเว้าถึงเหล็กเสริมขึ้นสนิม เสาตอม่อโคนเสาสึกกร่อนเป็นโพรงส่วนบน แตกกะเทาะเหล็กเป็นสนิมขุม
ผิวบนโครงสร้างส่วนล่างผิวบนโครงสร้างส่วนล่าง สภาพชำรุดระดับ 1 เสาตอม่อชำรุดแตกหัก เสาตอม่อจุดต่อเทคอนกรีตถูกกัดเซาะเป็นโพรง ขนาดใหญ่สูญเสียหน้าตัดเหล็กขึ้นสนิมขุม
ผิวบนโครงสร้างส่วนล่างผิวบนโครงสร้างส่วนล่าง สภาพชำรุดระดับ 1 จุดต่อเทคอนกรีตเสาตอม่อสึกกร่อนเป็นโพรงสูญเสียหน้าตัด เสาตอม่อร้าวแตกกะเทาะขนาดใหญ่เหล็กขึ้นสนิม
การจำแนกตามลักษณะการใช้งานการจำแนกตามลักษณะการใช้งาน • จำแนกตามประเภทสะพาน • จำแนกตามปริมาณการจราจร (AADT) • จำแนกตามปริมาณรถบรรทุก (ADTT)
จำแนกตามประเภทสะพาน Slab Type (ST) Plank Girder (PG) I Girder (IG) Box Girder (BG) Multi-Beam (MB) T-Girder (TG) RC GIRDER กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2
จำแนกตามปริมาณการจราจรและปริมาณรถบรรทุก • ปริมาณการจราจร AADT < 8000 และ AADT > 8000 คัน/วัน • ปริมาณรถบรรทุก ADTT < 1000 และ ADTT > 1000 คัน/วัน
ผลการจำแนกสะพาน • สำนักทางหลวงที่ 2 (แพร่) • สำนักทางหลวงที่ 9 (ลพบุรี) • สำนักทางหลวงที่ 14 (นครศรีธรรมราช) • รูปแบบความเสียหายของสะพาน • บทสรุปจากการจำแนกสะพาน
สำนักทางหลวงที่ 2 (แพร่)
จำนวนสะพานแบ่งตามประเภทสะพานจำนวนสะพานแบ่งตามประเภทสะพาน
จำนวนสะพานแบ่งตามอายุสะพานจำนวนสะพานแบ่งตามอายุสะพาน
จำนวนสะพานแบ่งตามปริมาณการจราจรจำนวนสะพานแบ่งตามปริมาณการจราจร
จำนวนสะพานแบ่งตามระดับสภาพการใช้งานจำนวนสะพานแบ่งตามระดับสภาพการใช้งาน
แสดงรายชื่อสะพานสภาพชำรุดระดับ 1 จำนวน 23 สะพาน ค่าซ่อมสะพานประมาณ 25 ล้านบาท
สำนักทางหลวงที่ 9 (ลพบุรี)
จำนวนสะพานแบ่งตามประเภทสะพานจำนวนสะพานแบ่งตามประเภทสะพาน
จำนวนสะพานแบ่งตามอายุสะพานจำนวนสะพานแบ่งตามอายุสะพาน
จำนวนสะพานแบ่งตามปริมาณการจราจรจำนวนสะพานแบ่งตามปริมาณการจราจร
จำนวนสะพานแบ่งตามระดับสภาพการใช้งานจำนวนสะพานแบ่งตามระดับสภาพการใช้งาน
แสดงรายชื่อสะพานสภาพชำรุดระดับ 1 จำนวน 40 สะพาน
แสดงรายชื่อสะพานสภาพชำรุดระดับ 1 จำนวน 40 สะพาน ค่าซ่อมสะพานประมาณ 30 ล้านบาท
สำนักทางหลวงที่ 14 (นครศรีธรรมราช)
จำนวนสะพานแบ่งตามประเภทสะพานจำนวนสะพานแบ่งตามประเภทสะพาน
จำนวนสะพานแบ่งตามอายุสะพานจำนวนสะพานแบ่งตามอายุสะพาน
จำนวนสะพานแบ่งตามปริมาณการจราจรจำนวนสะพานแบ่งตามปริมาณการจราจร
จำนวนสะพานแบ่งตามระดับสภาพการใช้งานจำนวนสะพานแบ่งตามระดับสภาพการใช้งาน
แสดงรายชื่อสะพานสภาพชำรุดระดับ 0-1 จำนวน 15 สะพาน ค่าซ่อมสะพานประมาณ 32 ล้านบาท
รูปแบบความเสียหายของสะพานรูปแบบความเสียหายของสะพาน ดี ระดับ 5 พอใช้ ระดับ 4 พอใช้ ระดับ 3 ชำรุด ระดับ 2 ชำรุด ระดับ 1 ชำรุดมาก ระดับ 0 เสียหายรุนแรง เสียหายรุนแรงมาก สะพานที่ตรวจสอบโดยละเอียด
ระดับสภาพการใช้งานของสะพานที่ตรวจสอบ ดี ระดับ 5 5.56% ดี ระดับ 5 5.56% ชำรุด ระดับ 1 9.72% พอใช้ ระดับ 4 11.11% ชำรุด ระดับ 1 22.22% พอใช้ ระดับ 4 22.22% พอใช้ ระดับ 3 9.72% ชำรุด ระดับ 2 44.44% พอใช้ ระดับ 3 18.06% ชำรุด ระดับ 2 51.39% โครงสร้างส่วนบน โครงสร้างส่วนล่าง
ประเภทของความเสียหายที่พบประเภทของความเสียหายที่พบ เอียง ทรุด 3.45% เหล็กเสริมเป็นสนิม 5.12% ดินถูกกัดเซาะ 25.80% รอยแตก 29.63% สึกกร่อน หลุดร่อน 51.29% สึกกร่อน หลุดร่อน 65.25% เหล็กเสริมเป็นสนิม 8.78% รอยแตก 10.68% โครงสร้างส่วนบน โครงสร้างส่วนล่าง
บทสรุปจากการจำแนกสะพานบทสรุปจากการจำแนกสะพาน (3 สำนักทางหลวง)
สทล. 2 (แพร่) มีสะพานต้องซ่อมเร่งด่วน 23 สะพาน มีสะพานต้องดำเนินการซ่อม 170 สะพาน • สทล. 9 (ลพบุรี) มีสะพานต้องซ่อมเร่งด่วน 40 สะพาน มีสะพานต้องดำเนินการซ่อม 168 สะพาน • สทล. 14 (นครฯ) มีสะพานต้องซ่อมเร่งด่วน 14 สะพาน มีสะพานต้องดำเนินการซ่อม 115 สะพาน งบประมาณซ่อมประมาณ 500 ล้านบาท
สะพานมากกว่า 25 % มีอายุมากกว่า 30 ปี กรมทางหลวงควรเตรียมการในเรื่องการซ่อมแซมสะพาน • สะพานประเภท Slab Type และ Plank Girder มีจำนวนมากกว่า 13,000 สะพาน ควรให้ความรู้กับหมวดการทาง • ความเสียหายของสะพานส่วนใหญ่เกิดด้านล่างสะพาน ควรให้ความสำคัญเป็นพิเศษ • รูปแบบความเสียหายเป็นการเสื่อมสภาพของวัสดุ เช่น การสึกกร่อนหลุดร่อนของคอนกรีต คอนกรีตแตกร้าว และเหล็กเสริมเป็นสนิม