1.81k likes | 1.98k Views
การประยุกต์ใช้ไอที ในการศึกษา. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน นายกสมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และประธานผู้บริหาร วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. Charm@ksc.au.edu. www.charm.au.edu.
E N D
การประยุกต์ใช้ไอทีในการศึกษาการประยุกต์ใช้ไอทีในการศึกษา ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน นายกสมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และประธานผู้บริหารวิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Charm@ksc.au.edu www.charm.au.edu เอกสารประกอบการบรรยายในโอกาสที่คณะวิชาบริหารธุรกิจ สาขางานการเลขานุการและสาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี เข้าเยี่ยมชมศึกษาดูงาน ตามนโยบายจัดการเรียนการสอนเสริมประสบการณ์จริง โดยการเรียนรู้นอกห้องเรียน วันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2551
การประยุกต์ใช้ไอทีในการศึกษาการประยุกต์ใช้ไอทีในการศึกษา • บทนำ • งานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • ระบบลงทะเบียนทางอินเทอร์เน็ตมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 4. เว็บ 2.0 และ อีเลิร์นนิ่ง 2
การประยุกต์ใช้ไอทีในการศึกษา(ต่อ)การประยุกต์ใช้ไอทีในการศึกษา(ต่อ) • ชีวิตที่สอง • ไอพอดและไอวอด • อีเลิร์นนิ่งที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • สรุป 3
1. บทนำ ถึงต้นปี พ.ศ. 2551 ในสหรัฐอเมริกา • ไม่มีสาขาวิชาใดที่ไม่มีการใช้การสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง • มากกว่าร้อยละ 96 ของสถาบันการศึกษาขนาดใหญ่ (15,000 คนขึ้นไป) เปิดสอนอีเลิร์นนิ่งอย่างน้อย 1 วิชา • มากกว่าร้อยละ 66 ของสถาบันการศึกษาขนาดใหญ่ (15,000 คนขึ้นไป) เปิดสอนแบบอีเลิร์นนิ่งเต็มหลักสูตร 4
บทนำ (ต่อ) • มากกว่าร้อยละ 80 ของสถาบันการศึกษาระดับปริญญาเอก เปิดสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง • ที่มหาวิทยาลัยคาเพลลา มีนักศึกษาระดับปริญญาเอกแบบอีเลิร์นนิ่งมากกว่านักศึกษาระดับปริญญาโทและตรี 5
บทนำ (ต่อ) จากรายงานของ Global Industry Analysts, Inc. • พ.ศ. 2550ตลาดอีเลิร์นนิ่งในสหรัฐอเมริกาประมาณ 600,000 ล้านบาท • พ.ศ. 2553 ตลาดอีเลิร์นนิ่งทั่วโลก ประมาณ 1.8 ล้านล้านบาท 6
บทนำ (ต่อ) อัตราการเจริญเติบโตของตลาดอีเลิร์นนิ่ง พ.ศ. 2551-2553 • เอเชีย ร้อยละ 25-30 ต่อปี • ทั่วโลก ร้อยละ 15-30 ต่อปี 7
บทนำ (ต่อ) • ปีเตอร์ ดรักเกอร์ (Peter Drucker)ปรมาจารย์ด้านบริหารธุรกิจกล่าวว่า ยอดเงินค่าใช้จ่ายด้านอีเลิร์นนิ่งจะสูงกว่าด้านอีคอมเมิร์ซ • นิตยสารไทม์ กล่าวว่า ไม่เกิน พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020)มากกว่าครึ่งของการศึกษาจะใช้วิธีอีเลิร์นนื่ง • พ.ศ. 2551 มีนักศึกษามากกว่าครึ่งหนึ่งของรัฐฟลอริดาลงทะเบียนเรียนอีเลิร์นนิ่งอย่างน้อยหนึ่งวิชา 8
บทนำ (ต่อ) มีข่าวจากจีนว่า • กว่า 600 มหาวิทยาลัยได้เปิดสอนหรือกำลังเตรียมสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง • กว่า 500,000 โรงเรียนได้เปิดสอนหรือกำลังจะเปิดสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง 9
บทนำ (ต่อ) • ขบวนรถไฟด้านอีเลิร์นนิ่งกำลังวิ่งไปข้างหน้าอย่างรวดเร็วทั่วโลกฉะนั้น สถานศึกษาไทย ไม่ควรจะตกขบวนรถด่วนดังกล่าว 10
2. งานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 2.1 โครงสร้างพื้นฐานด้านอินเทอร์เน็ต ของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 2.2 ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 2.3 นโยบายการบริการเข้าถึง 2.4 นโยบายการใช้งาน 11
2.1 โครงสร้างพื้นฐานด้านอินเทอร์เน็ต ของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • มีจุดเชื่อมต่อแลน ประมาณ 6,500 จุด- อาคาร“ศรีศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ” 2,000 จุด- หอพัก 2,500 จุด- สุวรรณภูมิ 500 จุด- หัวหมาก 1,500 จุด 12
โครงสร้างพื้นฐานด้านอินเทอร์เน็ต (ต่อ) • มีจุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย ประมาณ 82 จุด- หัวหมาก 50 จุด- สุวรรณภูมิ 32 จุด • มีโมเด็มเชื่อมต่อ 480 สาย 13
โครงสร้างพื้นฐานด้านอินเทอร์เน็ต (ต่อ) • แบนด์วิธก่อนเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551- รวมแบนด์วิธทั้งหมด 64 เมกะบิตต่อวินาที- แบนด์วิธระหว่างประเทศ 36 เมกะบิตต่อวินาที • แบนด์วิธหลังเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551- รวมแบนด์วิธทั้งหมด 136 เมกะบิตต่อวินาที- แบนด์วิธระหว่างประเทศ 46 เมกะบิตต่อวินาที • การเชื่อมโยงระหว่างหัวหมากกับสุวรรณภูมิ 1 กิกกะบิต 14
2.2 ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต”มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • พ.ศ. 2546 “วันเน็ต (ONE NET)”คือการรวมตัวเป็นหนึ่งเดียวของการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศการบริการและการปฏิบัติงาน • พ.ศ. 2547 ถึงพ.ศ. 2548 การจัดการปัญหาในการปฏิบัติงานปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ง่ายและความท้าทายในการรับมือ 15
ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” (ต่อ) • พ.ศ. 2549 ได้มีการติดตั้งระบบ“ดีอาร์(DR = Disaster Recovery)”คือระบบกู้คืนข้อมูลจากภัยพิบัติและสายใยแก้วระหว่างวิทยาเขตหัวหมากและบางนา 16
ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” (ต่อ) • ระบบ“วันเน็ต”มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญประกอบด้วย- เครือข่ายและการทำงานอินเทอร์เน็ต (Networking & Internetworking)- การบริการจัดทำสารบบและการจัดการทรัพยากร สารสนเทศ (Directory Services & Resource Management) 17
ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” (ต่อ) - การบริการและศูนย์ข้อมูล (Services & Data Centers)- การรักษาความปลอดภัยและการควบคุม และป้องกันไวรัส (Security & Virus Protection and Control) 18
ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” (ต่อ) • ระบบวันเน็ตทำให้เชื่อมโยงเครือข่ายได้อย่างต่อเนื่อง และมีสภาพจราจรสัญญาณที่คล่องตัวทุกพื้นที่ของมหาวิทยาลัยอาทิ- ห้องเรียน- ห้องพักอาจารย์- หน่วยงาน- หอพักนักศึกษาเป็นต้น 19
ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” (ต่อ) • มีระบบรักษาความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศอาทิ- ระบบตรวจจับการบุกรุก- กำแพงกันไฟเป็นต้น 20
ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” (ต่อ) • อัตราส่วนการให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ในมหาวิทยาลัยต่อสมาชิกผู้ใช้บริการ จากเดิมมีอัตราส่วนคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องต่อผู้ใช้บริการ 3 คนได้เพิ่มศักยภาพในให้บริการในอัตราส่วนผู้ใช้ 1 คนต่อคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง 21
2.3 นโยบายการบริการเข้าถึง • การบริการเครือข่ายในพื้นที่มหาวิทยาลัยได้ติดตั้งและจัดการการทำงานของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในหน่วยงานทั้งหมดสำหรับเครือข่ายที่เชื่อมต่อเครือข่ายท้องถิ่นสามารถส่งมัลติมีเดียไปยังเดสก์ทอปทั้งหมดของทั้งสองวิทยาเขต 22
นโยบายการบริการเข้าถึง(ต่อ)นโยบายการบริการเข้าถึง(ต่อ) • การบริการเว็บแม่ข่ายแต่ละคนสามารถมีโอมเพจสาธารณะส่วนบุคคลบนเว็บแม่ข่ายบริการได้ผู้สนใจสามารถขอรับบริการที่มหาวิทยาลัย 23
นโยบายการบริการเข้าถึง(ต่อ)นโยบายการบริการเข้าถึง(ต่อ) • การบริการอีเมล์ นักศึกษาแต่ละคนมีพื้นที่ว่างของดิสก์ 10 เมกกะไบต์อาจารย์และเจ้าหน้าที่จะมีพื้นที่ว่างของดิสก์50 เมกกะไบต์ 24
นโยบายการบริการเข้าถึง(ต่อ)นโยบายการบริการเข้าถึง(ต่อ) • การบริการระบบชื่อโดเม็นหรือ“ดีเอ็นเอส (DNS = Domain Name System)”มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมีชื่อโดเม็นอาทิ- “เอยูดอตอีดียู (au.edu)”- “เอยูดอตเอซีดอตทีเอช (au.ac.th)”- “ทีเอชดอตอีดียู (th.edu)”- “ทีเอชดอตออร์ก (th.org)” เป็นต้น 25
2.4 นโยบายการใช้งาน • การรักษาความปลอดภัยเครือข่ายและนโยบายความเป็นส่วนตัว- ทางมหาวิทยาลัยจะให้สิทธิพิเศษใดๆ ในการเข้าถึงระบบข้อมูล ซึ่งคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ได้มีกำหนดขอบเขตความเป็นส่วนตัว ที่เป็นข้อมูลความลับ 26
นโยบายการใช้งาน(ต่อ) • ระบบที่ถูกโจมตีจากระบบอื่นอาทิไวรัสหนอนไวรัส เป็นต้นจะถูกระงับการเชื่อมต่อเครือข่าย จนกว่าจะได้รับการรักษาความปลอดภัย • ผู้ใช้ที่พบความผิดพลาดของระบบรักษาความปลอดภัยจะต้องแจ้งให้ผู้บริหารระบบทราบเพื่อความปลอดภัย 27
นโยบายการใช้งาน(ต่อ) • นโยบายการใช้เครือข่ายและเครื่องคอมพิวเตอร์- ห้ามฝ่าฝืนกฎระเบียนข้อบังคับในการใช้ระบบ เครือข่ายและเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย- ห้ามใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยในการ * เล่นเกมออนไลน์ * เล่นการพนัน * เผยแพร่สื่ออนาจาร * ใช้เพื่อการค้า 28
นโยบายการใช้งาน(ต่อ) • นโยบายการใช้อีเมล์- ไม่อนุญาตให้ส่งอีเมล์หรือส่งต่ออีเมล์ ผ่านระบบของมหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์ส่อไปทางละเมิด หรือฝ่าฝืนกฎระเบียบหรือข้อบังคับทางกฎหมาย 29
นโยบายการใช้งาน(ต่อ) - การส่งอีเมล์หรือข้อความออนไลน์ต่างๆรบกวน อาทิ * จดหมายลูกโซ่ * สื่อภาพอนาจาร * ข้อความก่อกวนหรืออีเมล์อื่นๆที่ไม่พึงประสงค์ เป็นต้น 30
นโยบายการใช้งาน(ต่อ) - มหาวิทยาลัยสงวนสิทธิเฉพาะอีเมล์ ที่มีความเหมาะสมและปฏิเสธอีเมล์ขยะ และการเชื่อมต่อเครือข่ายจากแม่ข่ายข้างนอก- ผู้ใดละเมิดหรือฝ่าฝืนจะถูกระงับรายชื่อคอมพิวเตอร์ และการเข้าถึงเครือข่ายในช่วงระหว่างที่มีการสืบสวน และอาจจะถูกยกเลิกสิทธิในการใช้ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต 31
นโยบายการใช้งาน(ต่อ) - นักศึกษาที่อาศัยภายในหอพัก ของมหาวิทยาลัยวิทยาเขตสุวรรณภูมิ อาจเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ตลอด ยกเว้นช่วงกลางวันจะเปิดโอกาสให้นักศึกษา ที่ไม่ได้อยู่ในหอ และอาจารย์มีสิทธิเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ก่อน 32
นโยบายการใช้งาน(ต่อ) • กฎระเบียบในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตสำหรับสมาชิก- การบริการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา และการทำงานเป็นหลัก- ห้ามดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ที่มีความซับซ้อน ไปใช้งาน ทางมหาวิทยาลัยได้ติดตั้งบล็อก อัตโนมัติและมีเจ้าหน้าคอยดูแลการดาวน์โหลด ข้อมูลอย่างใกล้ชิด 33
นโยบายการใช้งาน(ต่อ) - คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและแบบพกพา ต้องได้รับการติดซอฟต์แวร์ป้องกันไวรัสหากติดไวรัสอาจถูกบล็อก จนกว่าจะได้รับการกำจัดไวรัส เพื่อป้องกันไม่ให้ไวรัสเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ของมหาวิทยาลัย 34
นโยบายการใช้งาน(ต่อ) • การพนันและการครอบครองภาพยนตร์อนาจาร ถือว่ากระทำผิดตามกฎหมายไทย ซึ่งต้องรับผิดชอบต่อการดำเนินคดี • - ห้ามผู้ใดที่พยายามหรือเจตนาโจมตี เจาะเข้าโปรแกรมข้อมูลหรือกระทำด้วยวิธีใดๆก็ตามที่เป็นสาเหตุให้การทำงานอินเทอร์เน็ต ของมหาวิทยาลัยถูกทำลาย 35
3. ระบบลงทะเบียนทางอินเทอร์เน็ตมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 3.1 โครงสร้างระบบสารสนเทศหลักของอัสสัมชัญ 3.2 ระบบลงทะเบียนมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 36
3.1 โครงสร้างระบบสารสนเทศหลักของอัสสัมชัญ 1) ระบบลงทะเบียน 2) ระบบกิจกรรมนักศึกษา 3) ระบบการเงิน 4) ระบบการบริหารจัดการ 5) ระบบทรัพยากรบุคคล 6) ระบบบัญชี 7) ระบบการจัดการห้องสมุด 37
โครงสร้างระบบสารสนเทศหลักของอัสสัมชัญโครงสร้างระบบสารสนเทศหลักของอัสสัมชัญ 38
1) ระบบลงทะเบียน • มีระบบย่อยของระบบลงทะเบียน 12 ระบบ1) ค่าธรรมเนียมแรกเข้า2) ประวัตินักศึกษา3) ประวัติอาจารย์ผู้สอน4) ตารางสอน5) การลงทะเบียนล่วงหน้า6) การลงทะเบียน 39
ระบบย่อยด้านการลงทะเบียน (ต่อ) 7) การยกเลิกวิชา 8) หลักสูตร9) ผลงานทางวิชาการ10) ใบรับรองการเรียน11) การจบการศึกษา12) ผลการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ 40
2) ระบบกิจกรรมนักศึกษา • มีระบบย่อยของระบบกิจกรรมนักศึกษา 22 ระบบ1) โครงการของนักศึกษา2) โครงการต่างๆ 3) การปฏิบัติงาน4) งบประมาณ5) กิจกรรมนักศึกษา6) ระบบให้คำปรึกษา7) ระบบให้คำแนะนำ 41
ระบบย่อยด้านกิจกรรมนักศึกษา (ต่อ) 8) การสนับสนุนการเรียนการสอน 9) ข้อบังคับของนักศึกษา10) จริยธรรม11) ระบบการประกัน12) สูญหายและค้นพบ13) การให้บริการการเรียนวิชารักษาดินแดน14) ศูนย์กีฬา15) ศูนย์นานาชาติ 42
ระบบย่อยด้านกิจกรรมนักศึกษา (ต่อ) 16) ระบบยืม-คืน17) ระบบแนะแนวอาชีพ18) การจองสถานที่19) ประวัตินักศึกษา20) การสอบถามข้อมูล21) ระบบซ่อมบำรุง22) ระบบรักษาความปลอดภัย 43
3) ระบบการเงิน • มีระบบย่อยของระบบการเงิน 12 ระบบ1) ข้อมูลหลัก 2) ระบบจัดซื้อ3) ระบบตรวจรับ4) ระบบพัสดุ 5) ระบบทรัพย์สินถาวร 6) ระบบเจ้าหนี้ 44
ระบบย่อยด้านการเงิน (ต่อ) 7) ระบบลูกหนี้ 8) ระบบการเงินรับ9) ระบบการเงินจ่าย10) ระบบบัญชี11) ระบบงบประมาณ12) ระบบการจัดการธุรกิจและทรัพย์สิน 45
4) ระบบการบริหารจัดการ • มีระบบย่อยของระบบการบริหารจัดการ 5 ระบบ1) ระบบเอกสาร 2) การตรวจสอบที่นั่งสอบ3) ระบบอำนวยความสะดวก4) การซ่อมบำรุงเครื่องยนต์5) การจัดการสิ่งของ 46
5) ระบบทรัพยากรบุคคล • มีระบบย่อยของระบบทรัพยากรบุคคล 7 ระบบ 1) ระบบลูกจ้าง 2) ระบบประวัติของลูกจ้าง3) ระบบการทำงานของพนักงาน4) ระบบหน่วยงานสังคมสงเคราะห์5) ระบบการรับสมัครงาน 6) ระบบการจัดฝึกอบรมและสัมมนา 7) ระบบทุนการศึกษา 47
6) ระบบบัญชี • มีระบบย่อยของระบบบัญชี 9 ระบบ1) ระบบบัญชี 2) สังคมสงเคราะห์และภาษี3) ผู้ควบคุมการสอบ4) การจ่ายเงินพิเศษ 48
ระบบย่อยด้านบัญชี (ต่อ) 5) อัตราการสอน6) การจ่ายเงินภาคฤดูร้อน7) การจ่ายเงินผู้ช่วยอาจารย์8) เงินโบนัส9) การเลื่อนตำแหน่ง 49
7) ระบบการจัดการห้องสมุด • มีระบบย่อยของระบบการจัดการห้องสมุด 4 ระบบ1) หนังสือ 2) วารสาร 3) การยืม-คืน4) การค้นหาหนังสือ 50