1.15k likes | 1.52k Views
การจัดซื้อและการจ้าง. ชั้นนายพัน (เหล่า กง.) รุ่นที่ 54. โครงการตอบข้อซักถามเกี่ยวกับการส่งกำลัง สป. สาย พธ. ทางโทรศัพท์. ติดต่อได้ที่ กองการศึกษา โรงเรียนทหารพลาธิการ กรมพลาธิการทหารบก โทร. 02-5856321 , ทบ. 89705. พล.ท. สุรพงษ์ พูลทรัพย์ จก.พธ.ทบ. ความรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์.
E N D
การจัดซื้อและการจ้าง ชั้นนายพัน (เหล่า กง.)รุ่นที่ 54
โครงการตอบข้อซักถามเกี่ยวกับการส่งกำลัง สป. สาย พธ. ทางโทรศัพท์ ติดต่อได้ที่ กองการศึกษา โรงเรียนทหารพลาธิการ กรมพลาธิการทหารบก โทร. 02-5856321, ทบ. 89705
พล.ท. สุรพงษ์ พูลทรัพย์ จก.พธ.ทบ.
ความรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์ความรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์
กองทัพบก แบ่งมอบสิ่งอุปกรณ์ให้ กรมพลาธิการทหารบก รับผิดชอบ 3 ประเภท ดังนี้ • สป. 1: อาหาร เสบียงต่างๆเว้นอาหารสัตว์ • สป. 2 และ 4 สาย พธ.: เครื่องแต่งกาย เครื่องสนาม เครื่องเขียน • สป. 3: น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันอุปกรณ์ ก๊าซเชื้อเพลิง
ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลัง สป.2 และ 4 พ.ศ.2534 ลง 30 ธ.ค.34 : ข้อ 12 ประเภทของการจัดหา แบ่งเป็น2 ประเภท ได้แก่ประเภท__________ ประเภท___________
ความ มุ่งหมาย สำเร็จรูป ต้องการปริมาณมาก ยุทโธปกรณ์ทางทหาร ทางเทคนิค สป. เบ็ดเตล็ดมีขายทั่วไป มีความต้องการไม่มาก ลักษณะ สป. แบบรวมการ แบบแยกการ หน่วย
งบประมาณ ราคาสูง วงเงินจัดหาสูงมาก ราคาไม่แพง วงเงินไม่สูง ราคา - คำสั่ง ทบ. ที่ 429/45 ลง 26 พ.ย. 45 - คำสั่ง ทบ. ที่ 369/36 ลง 6 มิ.ย. 36 ตามระเบียบ ทบ.ว่าด้วย ความรับผิดชอบใน สป. พ.ศ. 2535 รายการจัดหา แบบรวมการ แบบแยกการ
แหล่งข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐแหล่งข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ www. gprocurement.go.th www.gfmis.go.th
แนะนำ พ.ร.บ. และ ระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง • พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 • พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 • พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ • พ.ศ. 2542 • ระเบียบ คตง. ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ.2544
พ.ร.บ. วิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 “บุคคล ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากผลของคำสั่งทางปกครอง ที่ออกโดยการใช้อำนาจตามกฎหมายของ จนท. มีสิทธิ ยื่นคำขอคัดค้านคำสั่งทางปกครองดังกล่าว”
พ.ร.บ. วิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 • “คำสั่งทางปกครอง” การใช้อำนาจตาม กม.ของ จนท.ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ มีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิ / หน้าที่ของบุคคล ไม่ว่า ถาวร / ชั่วคราว เช่น • การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ • การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง การรับจดทะเบียน • ไม่รวมถึงการออกกฎ • การอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เน้นสิทธิบุคคลในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ประกาศคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง กำหนดให้ประกาศประกวดราคา และสอบราคาที่ หน.ส่วน- ราชการลงนามแล้ว เป็นข้อมูลข่าวสารที่ต้องจัดให้ประชาชน ตรวจดูได้ และต้องเก็บไว้ไม่น้อยกว่า 1 ปี หน่วยงานของรัฐจัดทำสรุปผลการพิจารณาการจัดซื้อ/จ้าง เป็นรายเดือนทุกๆ เดือน สำหรับการตรวจดูของประชาชน
พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคา ต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 ม. 4 - 9กำหนดบทลงโทษผู้ประกอบการที่เสนอราคา ม. 10 - 12กำหนดบทลงโทษเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ทำผิด ม. 13กำหนดบทลงโทษนักการเมืองที่กระทำผิด
เจ้าหน้าที่ของรัฐ • รู้ / ควรรู้ แต่ไม่ยกเลิกการดำเนินงานมีโทษจำคุก 1 - 10 ปี ปรับ 20,000 - 200,000 บาท • ออกแบบกำหนดราคา/เงื่อนไข/ผลประโยชน์ตอบแทนเพื่อช่วย กีดกัน ผู้เสนอราคามีโทษจำคุก 5-20 ปี/ตลอดชีวิต ปรับ 100,000-400,000บาท • กระทำการมิให้มีการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม มีโทษจำคุก 5-20ปี/ตลอดชีวิต ปรับ 100,000-400,000 บาท
ระเบียบ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยวินัย ทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544 สาระสำคัญ สตง. มีสิทธิเข้าตรวจสอบหน่วยรับตรวจ ในเรื่อง การบริหารการเงินการคลัง โดย กำหนดโทษปรับทางการปกครอง สำหรับเจ้าหน้าที่ที่ทำให้เกิดความเสียหายแก่รัฐไว้ 4 ชั้น
การบริหารการเงินและการคลังการบริหารการเงินและการคลัง - การรับ - การเบิก - การจ่าย- การใช้จ่าย - การใช้ประโยชน์ - การเก็บรักษา - การจัดการ ทรัพย์สิน สิทธิ และ ผลประโยชน์ ของหน่วยรับตรวจ ซึ่ง ที่ได้มาจาก - เงิน งป. - เงินนอก งป. - เงินกู้ - เงินอุดหนุน - เงินบริจาค - เงินช่วยเหลือจากแหล่งใน ประเทศ หรือ ต่างประเทศ อันเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย หรือ ตามวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจ
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงานด้านการพัสดุโดยตรง ได้แก่ หมวดที่ 1 ส่วนที่ 2 โทษปรับทางปกครอง ซึ่งกำหนดไว้ 4 ชั้น คือ • โทษชั้นที่ 1 ปรับไม่เกินเงินเดือน 1 เดือน • โทษชั้นที่ 2 ปรับเท่ากับเงินเดือน 2-4 เดือน • โทษชั้นที่ 3 ปรับเท่ากับเงินเดือน 5-8 เดือน • โทษชั้นที่ 4 ปรับเท่ากับเงินเดือน 9-12 เดือน
หมวด 2 ส่วนที่ 1 ความผิดเกี่ยวกับการรับเงิน การเก็บรักษา และ การส่งเงิน ส่วนที่ 2 การเงิน และการจ่ายเงินตัวอย่างบางกรณี คือ
โทษชั้นที่1ได้แก่ - รับชำระเงินแล้วไม่ทำหลักฐานการรับเงิน ไม่นำส่งเงินภายใน ระยะเวลาที่กำหนด โทษชั้นที่ 2ได้แก่ - ผู้เก็บรักษาเงินไม่นำฝากธนาคารหรือสถานที่เก็บรักษาเงิน ภายในเวลาที่กำหนด
โทษชั้นที่ 3ได้แก่ • - มีหน้าที่เบิก-จ่ายเงิน ละเว้นปฏิบัติหน้าที่/ปฏิบัติหน้าที่โดย • มิชอบ ไม่มีหลักฐานการจ่ายเงิน ตามกฎหมาย/ระเบียบ • ที่กำหนด ทำหลักฐานการเบิกเงินเป็นเท็จ • โทษชั้นที่ 4ได้แก่ • - กระทำความผิดที่เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายต่อรัฐ • - ผู้กระทำความผิดเป็นผู้สั่งจ่าย หรือ ผู้บังคับบัญชา
หมวด 2 ส่วนที่ 6ความผิดเกี่ยวกับการพัสดุ ตัวอย่างบางกรณี คือ
โทษชั้นที่1ได้แก่ - มีหน้าที่ปิดประกาศ จัดส่งเอกสาร ละเลยไม่ปิดปิดประกาศ หรือจัดส่งหรือเผยแพร่ โทษชั้นที่ 2ได้แก่ - มีหน้าที่เบิกจ่ายพัสดุ จัดทำบัญชีไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง
โทษชั้นที่ 3ได้แก่ - มีหน้าที่พิจารณาผลปฏิบัติไม่ถูกต้องตามเงื่อนไข โดยรู้ หรือ ควรจะรู้ เกิดความเสียหาย โทษชั้นที่ 4ได้แก่ - มีหน้าที่ดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง ปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติ โดยมิชอบ แบ่งแยกวงเงินจัดซื้อ จัดจ้าง
ระเบียบ - คำสั่ง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการจัดซื้อ - จ้าง • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการ • ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2549 • คำสั่ง กห (เฉพาะ) ที่ 50/50 เรื่อง การพัสดุ ลง 16 มี.ค.50 • ระเบียบ-คำสั่ง ของ ทบ.
การใช้บังคับระเบียบสำนักนายกฯ ปี 35 (ข้อ 6) การใช้บังคับ
ไม่รวม • หน่วยงานตาม กม.ว่าด้วย • ____________________ • ____________________ • หน่วยงานอื่นที่มี กม.บัญญัติ • ____________________ • ____________________ คำนิยามที่สำคัญ ตามระเบียบสำนักนายกฯ ปี 35 __________ • กระทรวง ทบวง กรม • สำนักงาน/หน่วยงานของรัฐ • ทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค • ในต่างประเทศ
(นร.ปี 35: คำจำกัดความ) การจัดทำเอง __________________ __________________การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยนการเช่า การควบคุม การจำหน่าย การดำเนินการอื่น ๆ ที่กำหนดไว้ในระเบียบฯ ( ) การยืม, การโอน
(นร.ปี 35: คำจำกัดความ) • งบประมาณรายจ่ายประจำปี • งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม • เงินซึ่งส่วนราชการ ได้รับไว้ โดยได้รับอนุญาตจาก รมว.คลัง • ให้_____________ ตามกฎหมาย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
(นร.ปี 35: คำจำกัดความ) = เงินกู้ตามกฎหมายว่าด้วยการให้อำนาจกระทรวงการคลัง กู้เงินจาก ต่างประเทศ = เงินที่ได้รับความช่วยเหลือจาก - รัฐบาล - องค์การ - สถาบันการเงิน - องค์การ ทั้งในระดับรัฐบาล และ - ที่มิใช่รัฐบาล มูลนิธิหรือเอกชน ต่างประเทศ ระหว่างประเทศ ระหว่างประเทศ ต่างประเทศ ต่างประเทศ
(นร.ปี 35: คำจำกัดความ) “การซื้อ”: การซื้อพัสดุทุกชนิดที่มีการติดตั้งทดลอง และบริการที่เกี่ยวเนื่องอื่น ๆแต่ไม่รวม การจ้าง “การจ้าง”: การจ้างทำของและการรับขนตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ การจ้างเหมาบริการไม่รวม การจ้างลูกจ้าง การรับขนในการเดินทางไปราชการ การจ้าง ที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การจ้างแรงงาน
(นร.ปี 35: คำจำกัดความ) “หัวหน้าส่วนราชการ” ราชการบริหารส่วนกลาง = อธิบดี หรือ หัวหน้าส่วนราชการ ที่เรียกอย่างอื่น และมีฐานะเป็น =ผู้ว่าราชการจังหวัด ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
การมอบอำนาจ ตามระเบียบสำนักนายกฯ ปี 35:ข้อ 9 หลัก ผู้มีอำนาจ มอบอำนาจได้ แต่ผู้ได้รับมอบอำนาจ จะมอบต่ออีกไม่ได้ ข้อยกเว้น (2)การมอบอำนาจและการมอบอำนาจต่อตาม ระเบียบกระทรวงกลาโหม
คำสั่ง กห (เฉพาะ) ที่ 50/50 เรื่อง การพัสดุ ลง 16 มี.ค.50 = สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม กรมราชองครักษ์ กองบัญชาการทหารสูงสุด (บก.ทท.) ________________ ________________ ________________ หรือ หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ ส่วนราชการ
คำสั่ง กห (เฉพาะ) ที่ 50/50 เรื่อง การพัสดุ ลง 16 มี.ค.50 หัวหน้าส่วนราชการ = หัวหน้าส่วนราชการ ของหน่วยงานดังกล่าว = สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม กรมราชองครักษ์ กองบัญชาการทหารสูงสุด (บก.ทท.) กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ
เจ้าหน้าที่พัสดุและ หน.เจ้าหน้าที่พัสดุของหน่วย
คำสั่ง ทบ. ที่ 908/2534 เรื่อง การกำหนดเจ้าหน้าที่พัสดุ และ หน.เจ้าหน้าที่พัสดุของหน่วย ลง 25 ก.ค. 34 • หน่วย: หน่วยที่ได้รับงบประมาณ ซึ่งเป็นหน่วย • ระดับกองพันหรือเทียบเท่าขึ้นไป • ผบ.หน่วย: หน.หน่วยที่ได้รับงบประมาณ ซึ่งเป็น • หน่วยระดับกองพันหรือเทียบเท่าขึ้นไป
(คำสั่ง ทบ.ที่ 908/34 ลง 25 ก.ค.34) • เจ้าหน้าที่พัสดุของหน่วย • เจ้าหน้าที่ดำรงตำแหน่งที่เกี่ยวกับการพัสดุของหน่วย • เช่น พลาธิการ , จนท.สายพลาธิการ , จนท.สาย • ส่งกำลังบำรุง เป็นต้น • ผู้ที่ ผบ.หน่วยออกคำสั่งแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ • การพัสดุ
(คำสั่ง ทบ.ที่ 908/34 ลง 25 ก.ค.34) หน.เจ้าหน้าที่พัสดุของกรมฝ่ายฯ ที่มีความรับผิดชอบใน สป. 1) จัดหาเป็นส่วนรวมที่ดำเนินการโดย ฝ่าย / กอง/ แผนกจัดหา ให้ _____________________________ เป็น “หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ” 2)จัดหาเพื่อกิจการของหน่วยที่มีแผนกพลาธิการ ของหน่วยดำเนินการ ให้ ________________ เป็น “หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ”
(คำสั่ง ทบ.ที่ 908/34 ลง 25 ก.ค.34) หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ของหน่วยนอกเหนือข้อ 4 1)ใน อฉก./อจย. ระบุอัตรา ฝ่าย/ กอง/ แผนกจัดหา ให้ _______________________เป็น“หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ” 2)ใน อฉก./ อจย. ระบุอัตราแผนกพลาธิการ ให้_________ เป็น “หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ” 3)ไม่ระบุอัตราใด ๆ ให้ผบ.หน่วยออกคำสั่งแต่งตั้ง ________________________________ เป็น “หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ”
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการงบประมาณ พ.ศ. 2547 : ข้อ 7.38 เจ้าหน้าที่พัสดุ: ข้าราชการชั้นสัญญาบัตรที่ดำรงตำแหน่ง ด้านการพัสดุ หรือผู้ที่ได้รับการแต่งตั้ง หรือ ได้รับมอบหมายจาก หน.หน่วยให้มีหน้าที่ เกี่ยวกับการพัสดุ ตามระเบียบสำนักนายก ฯ
ระเบียบสำนักนายกฯ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2545 : ข้อ 18 การซื้อ / การจ้าง ทำได้6วิธี 1)วิธีตกลงราคา 2)วิธีสอบราคา 3)วิธีประกวดราคา 4)วิธีพิเศษ 5)วิธีกรณีพิเศษ 6)วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์ ที่กระทรวงการคลังกำหนด ( ) e-Auction
สรุปวงเงินการซื้อ / จ้าง (นร.ปี 35 ข้อ 19-21 และ นร.ปี 49 ข้อ 4)
การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การแบ่งซื้อ แบ่งจ้าง หมายถึง การลดวงเงินที่จะซื้อ หรือจ้างในครั้งเดียวกัน ออกเป็นหลายครั้ง โดยไม่มีเหตุผลความจำเป็น และมีเจตนาที่จะหลีกเลี่ยง 1) แบ่งวงเงิน ให้ลดลงเพื่อเปลี่ยนวิธีจัดหาพัสดุ 2) ให้ผู้มีอำนาจสั่งซื้อ สั่งจ้าง เปลี่ยนไป
วิธีพิเศษ (นร.ปี 35 ข้อ 23 – 24) การซื้อ / การจ้าง ที่มี 2 องค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1 ต้องมีราคาเกินกว่า ___________ บาท องค์ประกอบที่ 2-การซื้อ จะนำมาซื้อวิธีพิเศษ ได้เฉพาะ___กรณี -การจ้าง จะนำมาจ้างวิธีพิเศษ ได้เฉพาะ___กรณี
ซื้อ 8 กรณี 1)ขายทอดตลาด 2)เร่งด่วน 3)ใช้ในราชการลับ 4)ต้องซื้อเพิ่มในสถานการณ์ที่จำเป็น 5)ซื้อโดยตรงจากต่างประเทศ 6)ต้องระบุยี่ห้อ 7)ที่ดิน/สิ่งปลูกสร้าง 8)ซื้อด้วยวิธีอื่นไม่ได้ผลดี จ้าง 6กรณี 1)ต้องจ้างช่างผู้มีฝีมือโดยเฉพาะ 2)จำเป็นต้องถอดตรวจ 3)เร่งด่วน 4)ความลับของทางราชการ 5)ต้องจ้างเพิ่มในสถานการณ์ที่จำเป็น 6)จ้างด้วยวิธีอื่น ไม่ได้ผลดี วิธีพิเศษ (นร.ปี 35 ข้อ 23 – 24)