1 / 85

โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก

โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก. ประวัติความเป็นมา.

dash
Download Presentation

โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก

  2. ประวัติความเป็นมา โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 200 เตียง เปิดดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2506 ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส ชายแดนไทย-มาเลเซีย ให้บริการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสภาพแก่ประชากรในพื้นที่อำเภอสุไหงโก-ลก (ประชากรประมาณ 69,400 คน) และอำเภอใกล้เคียงซึ่งเป็นโรงพยาบาลในเครือข่าย พบส. (รวมทั้งสิ้นประมาณ 200,000คน) โรงพยาบาลได้รับการรับรอง HA จาก พรพ. เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2547

  3. อ.สุไหงปาดี 47,653 คน อ.สุไหงโก-ลก 69,700 คน อ.สุคิริน21,753 คน อ. แว้ง 37,868 คน ข้อมูลประชากรพื้นที่รับผิดชอบ

  4. วิสัยทัศน์ มุ่งมั่นบริการ เชี่ยวชาญการรักษา พันธกิจ ให้บริการด้านสุขภาพ แก่ประชาชนแบบองค์รวม อย่างมีคุณภาพได้มาตรฐานและมีคุณธรรม

  5. กลุ่มการพยาบาล

  6. พันธกิจ จัดระบบบริการพยาบาลแก่ประชาชนแบบองค์รวม ตามมาตรฐานวิชาชีพ ผู้ปฏิบัติงานมีความสุข

  7. แผนกสูตินรีเวชและวางแผนครอบครัวแผนกสูตินรีเวชและวางแผนครอบครัว

  8. พันธกิจ ให้บริการสูตินรีเวชและวางแผนครอบครัวอย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ผู้รับบริการพึงพอใจ

  9. วิสัยทัศน์ คุณภาพมาตรฐาน บริการฉับไว แม่ลูกปลอดภัย หญิงไทยสุขสม

  10. ขอบเขตบริการ 1. บริการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในระยะก่อนคลอด 2. บริการวางแผนครอบครัวและตรวจหลังคลอด 3. บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็ง เต้านมในสตรีวัยเจริญพันธ์

  11. 4. บริการดูแลสตรีที่ป่วยเป็นโรคเกี่ยวกับอวัยวะสืบพันธ์ และคู่สมรสที่มีบุตรยาก 5. บริการเตรียมความพร้อมก่อนสมรสและปรึกษาคู่สมรส 6. บริการดูแลและส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยทอง ขอบเขตบริการ

  12. โครงสร้างหน่วยงาน หัวหน้างาน ทีมพัฒนาคุณภาพ ทีมวิชาการ ทีมบริหารความเสี่ยง

  13. หน้าที่รับผิดชอบ

  14. หน้าที่รับผิดชอบ

  15. หน้าที่รับผิดชอบ

  16. หน้าที่รับผิดชอบ

  17. สายบังคับบัญชา หัวหน้าพยาบาล หัวหน้างาน พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลเทคนิค ผู้ช่วยเหลือคนไข้

  18. ตัวชี้วัด

  19. อัตราทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม เป้าหมาย< 7

  20. อัตราหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลครรภ์ตนเองอัตราหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลครรภ์ตนเอง เป้าหมาย 85 %

  21. อัตราดูแลหญิงตั้งครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์ เป้าหมาย 90%

  22. อัตราความพึงพอใจ เป้าหมาย 85 %

  23. ระยะรอรับบริการ เป้าหมาย 45 นาที

  24. จำนวนอุบัติการณ์ตรวจครรภ์ผิดพลาดจำนวนอุบัติการณ์ตรวจครรภ์ผิดพลาด

  25. อัตราหญิงตั้งครรภ์เกิดภาวะโลหิตจางอัตราหญิงตั้งครรภ์เกิดภาวะโลหิตจาง เป้าหมาย <10%

  26. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 1. กิจกรรม 5 ส ได้รับรางวัลชนะเลิศ ปี พ.ศ. 2548 , 2549 2. CQI เรื่อง LBW , Pre - term 3. โรงเรียนพ่อ - แม่ 4. คลินิกนมแม่ 5. การพัฒนาคุณภาพบริการฝากครรภ์ให้เป็นหน่วยสาธิตทาง การพยาบาล

  27. หน่วยสาธิตทางการพยาบาลหน่วยสาธิตทางการพยาบาล

  28. วัตถุประสงค์ 1. เป็นหน่วยบริการที่เป็นแบบอย่างของการพัฒนา คุณภาพการพยาบาลตามมาตรฐานการพยาบาล และดำเนินการประกันคุณภาพการพยาบาล 2. เป็นศูนย์กลางการเผยแพร่ความรู้และนวตกรรมการ พยาบาล

  29. องค์ประกอบของหน่วยสาธิตองค์ประกอบของหน่วยสาธิต • ระบบการจัดการ • การดูแลที่สำคัญ • การบันทึกที่จำเป็น • ทักษะ / ความรู้ที่จำเป็นของผู้ปฏิบัติงาน

  30. ระบบบริการ 1. การจัดระบบบริการที่ง่ายและสะดวกต่อการรับบริการฝากครรภ์ - สถานที่ฝากครรภ์ตั้งอยู่ในอาคารด้านหน้าของโรงพยาบาล อยู่ใกล้ห้องจ่ายยา , ห้องตรวจเลือด , ห้องบัตร - มีพยาบาลคอยต้อนรับ ให้คำแนะนำทันทีที่มาถึงหน่วยบริการ - มีขั้นตอนบริการประชาสัมพันธ์ไว้หน้าหน่วยงาน

  31. ระบบบริการ 2. การจัดอัตรากำลังและมอบหมายงาน - มีการวิเคราะห์อัตรากำลังทุก 6 เดือน - รับจัดสรรกำลังคนตามภาระงาน

  32. ระบบบริการ - บริหารกำลังคน ให้เกิดความคุ้มค่า โดยคำนวณ Productivity ในแต่ละวัน หากมีคนมากกว่าภาระงานก็กระจายคนไปทำงานที่ แผนกอื่น เช่น วันจันทร์จะส่งพยาบาลไปช่วยคลินิกศัลยกรรม กระดูก และส่งผู้ช่วยเหลือคนไข้ไปช่วยที่พิเศษชั้น 6 - มีการมอบหมายงานประจำวัน

  33. ระบบบริการ 3.การประสานงานเพื่อการส่งต่อการดูแลหญิงตั้งครรภ์ - ประสานงานทางโทรศัพท์ - ประสานงานโดยใช้เอกสารใบประสานงานระหว่างหน่วยงาน - ประสานงานโดยใช้ใบส่งปรึกษาระหว่างแผนก - ประสานงานโดยใช้ใบส่งต่อ

  34. ระบบบริการ 4. การจัดพื้นที่ - มีการจัดหาเครื่องมือที่จำเป็นมาไว้ใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เครื่องฟัง FHS , เครื่อง U/S , เครื่อง NST - มีการเตรียมความพร้อมใช้ของเครื่องมือทุกวัน - มีการตรวจวัดความเที่ยงของเครื่องมือทุก 1 ปี

  35. ระบบบริการ 5. การพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย - มีห้องตรวจเป็นส่วนตัว มิดชิด - สามารถเลือกและเปลี่ยนแพทย์ผู้ตรวจได้ - ผู้รับบริการสามารถทราบชื่อผู้ให้บริการทุกคน

  36. ระบบบริการ 6.การบริหารเวชภัณฑ์ การจัดเก็บวัคซีน - มีการเบิกเวชภัณฑ์หมุนเวียนไว้ใช้ได้นานถึง 3 เดือน ตามระบบ First - in , First - out - มีการจัดเก็บวัคซีนไว้ในตู้เย็นที่อุณหภูมิพอเหมาะ มีการตรวจเช็คอุณหภูมิทุกวัน

  37. ระบบบริการ 7. การจัดการความปลอดภัยในหน่วยงาน - ทำกิจกรรม 5 ส ในการจัดสถานที่ทำงานให้น่าอยู่ อย่างสม่ำเสมอ

  38. ระบบบริการ 8. ระบบการนัดและติดตามกลุ่มเสี่ยง - หญิงตั้งครรภ์ภาวะปกตินัดให้มาฝากครรภ์ตามอายุครรภ์ - หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนนัดตามระดับความรุนแรง ของภาวะแทรกซ้อน - ติดตามกลุ่มเสี่ยงทางโทรศัพท์

  39. ระบบบริการ 9. การจัดการเพื่อการควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในหน่วยงาน - ล้างมือให้ถูกวิธีหลังตรวจ , หลังทำหัตถการ - ทิ้งขยะลงภาชนะรองรับให้ถูกประเภท ขยะทั่วไป , ขยะติดเชื้อ , ขยะอันตราย

  40. ระบบบริการ 10. การจัดระบบการให้ความรู้และการส่งเสริมการดูแล สุขภาพตนเองและหญิงตั้งครรภ์ - จัดทำโครงการคุณแม่คุณภาพทุก 2 เดือน โดยทีมสห สาขาวิชาชีพ - จัดทำ Mather class / Father class ทุกวันอังคาร , พฤหัสบดี

  41. ระบบบริการ 11. การบริหารความเสี่ยง - ค้นหาและวิเคราะห์ความเสี่ยงจากกระบวนการหลักของ หน่วยงาน - จัดทำบัญชีรายการความเสี่ยงของหน่วยงานและมาตรฐาน ควบคุม ป้องกัน - รายงานเหตุการณ์ ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นตามขั้นตอน - ทบทวนความเสี่ยง เพื่อการแก้ไขและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

  42. การดูแลที่สำคัญ 1. การประเมินปัญหาและความต้องการของหญิงตั้งครรภ์ใน ทุกไตรมาสอย่างต่อเนื่อง - ให้การดูแล ประเมินปัญหาและความต้องการของ หญิงตั้งครรภ์ ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ ตามแผนการ พยาบาลหญิงตั้งครรภ์ในแต่ละไตรมาสและลง บันทึกการพยาบาลในสมุดฝากครรภ์ - ตรวจสอบความต่อเนื่องการพยาบาลจากการลง บันทึกประจำทุกเดือน

  43. การดูแลที่สำคัญ 2. การคัดกรองความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์โดยใช้เกณฑ์เสี่ยง • คัดกรองความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ทุกรายโดยใช้ สติกเกอร์สีตามแนวทางของจังหวัดนราธิวาส • ชี้แจงความเสี่ยงให้หญิงตั้งครรภ์ทราบทุกราย • ให้การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง

  44. การดูแลที่สำคัญ 3. การบริการตรวจครรภ์โดยพยาบาลวิชาชีพและแพทย์ • ให้บริการตรวจครรภ์โดยพยาบาลวิชาชีพ • มีระบบพี่เลี้ยงคอยดูแลกำกับกาตรวจครรภ์ของ เจ้าหน้าที่จบใหม่,พยาบาลเทคนิค, น.ศ พยาบาล • มีการ Dubble check โดยไขว้กันตรวจสอบ การตรวจ ครรภ์โดยพยาบาลวิชาชีพ และหัวหน้างาน • สุ่มตรวจสอบการตรวจครรภ์โดยสูติแพทย์

  45. การดูแลที่สำคัญ 4.การจัดโปรแกรมให้ความรู้/ Mother class ครอบคลุม หญิงตั้งครรภ์ทุกราย - มีนโยบายการให้ความรู้ในรูปแบบโรงเรียนพ่อแม โดยจัดทำกลุ่ม mother class/ father classทุกวัน อังคารและพฤหัส - จัดทำโครงการแม่คุณภาพ ทุก 2 เดือน โดยทีม วิทยากรจากสหสาขาวิชาชีพ

  46. การดูแลที่สำคัญ 6. จัดตั้งคลินิกนมแม่และระบบติดตามพัฒนา ความพร้อมของหญิงมีครรภ์ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6.1 แผนกฝากครรภ์เตรียมความพร้อมหญิงตั้งครรภ ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่โดย - ตรวจเต้านม และแก้ไขปัญหา - ส่งเสริมความรู้เรื่อง นมแม่

  47. การดูแลที่สำคัญ 6.2 เปิดบริการคลินิคนมแม่ที่แผนกฝากครรภ์ สามารถให้บริการได้ตลอด 24 ช.ม โดยให้คำปรึกษา ในเวลาราชการที่คลินิกฝากครรภ์ และนอกเวลา ราชการที่แผนกหลังคลอด 6.3 มีพยาบาลสายสัมพันธ์นมแม่ โดยออกเยี่ยมให้ คำแนะนำช่วยเหลือแม่หลังคลอดในการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ทุกราย ก่อนจำหน่าย และลงบันทึก การเยี่ยมในสมุดเยี่ยมสายสัมพันธ์นมแม่

More Related