330 likes | 581 Views
ISO 9001:2008 ครั้งที่ 7 /255 7 วันที่ 28 มีนาคม 255 7 การบำรุงรักษา ( Preventive Maintenance ). การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร. การปฏิบัติงานด้านการบำรุงรักษา. หน่วยเครื่องกล - ช่างเครื่องยนต์ - ช่างลิฟต์ - ช่างเครื่องกำเนิดไอน้ำ หน่วยไฟฟ้า - ช่างเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่
E N D
ISO 9001:2008 ครั้งที่ 7/2557 วันที่ 28 มีนาคม 2557 การบำรุงรักษา (Preventive Maintenance) การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
การปฏิบัติงานด้านการบำรุงรักษาการปฏิบัติงานด้านการบำรุงรักษา • หน่วยเครื่องกล • - ช่างเครื่องยนต์ • - ช่างลิฟต์ • - ช่างเครื่องกำเนิดไอน้ำ • หน่วยไฟฟ้า • - ช่างเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ • - ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย • หน่วยประปาและสุขาภิบาล • - ช่างกรองน้ำ • - ช่างผลิตน้ำดื่ม
การปฏิบัติงานด้านการบำรุงรักษาการปฏิบัติงานด้านการบำรุงรักษา ให้บริการในด้านการบำรุงรักษา การจัดทำแผนการบำรุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์ในเชิงป้องกันให้มีความพร้อมใช้ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง จัดเก็บบันทึกข้อมูลประวัติของเครื่องจักรต่างๆ เช่น เครื่องปั๊มน้ำ ,เครื่องดับเพลิง ,ลิฟต์ , เครื่องกำเนิดไอน้ำ ,เครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน,ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้,เครื่องปรับอากาศ(Chiller), เครื่องผลิตน้ำดื่มและเครื่องจักรผลิตน้ำประปา
วัตถุประสงค์ • เพื่อให้เครื่องจักรมีความพร้อมใช้งาน • เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้งานเครื่องจักรสูงสุด • เพื่อลดค่าใช้จ่ายการซ่อมบำรุงเครื่องจักร • เพื่อยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักรให้ใช้งานได้ยาวนานขึ้น
เครื่องจักรที่บำรุงรักษาในระบบ • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าและเครื่องดับเพลิง • เครื่องปั้มน้ำและมอเตอร์ • เครื่องกำเนิดไอน้ำ(BOILER) • ลิฟต์ • ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ • เครื่องปรับอากาศ (CHILLER) • เครื่องผลิตน้ำดื่มและเครื่องจักรผลิตน้ำประปา • เครื่องจักรอื่นที่อยู่ในความรับผิดชอบของงานซ่อมบำรุง
ปริมาณเครื่องจักร ปี 2553-2556
KPIBRECK DOWN ต.ค.55-ก.ย.56 เป้า Break down เครื่องจักร 2 % จำนวนเครื่องจักร 534 เครื่อง จำนวนชั่วโมงการใช้งาน 3,892,956 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมงที่หยุดใช้เครื่อง 504 ชั่วโมง KPI Break down0.013 %
KPI ความพร้อมใช้ ต.ค.55-ก.ย.56 เป้าความพร้อมใช้เครื่องจักร 100 % จำนวนเครื่องจักร 534 เครื่อง จำนวนชั่วโมงการใช้งาน 329,003 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมงที่หยุดใช้เครื่อง 1,368 ชั่วโมง รวมเวลาซ่อม 1,368 ชั่วโมง KPI ความพร้อมใช้เครื่องจักร 99.792 %
KPI การบำรุงรักษาตามแผน ต.ค.55-ก.ย.56 เป้าบำรุงรักษาตามแผน 100 % จำนวนเครื่องจักร 534 เครื่อง จำนวนครั้งที่บำรุงรักษาตามแผน 3,910 ครั้ง จำนวนครั้งที่บำรุงรักษาทำได้จริง 3,720 ครั้ง KPI ที่ทำได้ตามแผน 92.43%
สรุป BRECK DOWN งานซ่อมบำรุง ประจำปี 2556 KPI( 2%) รวม KPI / ปี = 0.265
สรุป ดัชนีความพร้อมใช้งานซ่อมบำรุง ประจำปี 2556 KPI( 100%) รวม KPI / ปี = 99.96 %
สรุป ผลการบำรุงรักษาตามแผนงานซ่อมบำรุง ประจำปี 2556 KPI( 100%) รวม KPI / ปี = 95.04%
สรุป Occurrence Report Form งานซ่อมบำรุง ประจำปี 2556
การบำรุงรักษาประจำปี ตรวจเช็คเครื่องจ่ายน้ำยา(Anionic polymer) ตรวจเช็คซ่อมเครื่องจ่ายคลอรีนแก๊ส
วิธีการลด Break Down • มีการตรวจสอบเครื่องจักรประจำวัน • บำรุงรักษาเครื่องจักรตามระยะเวลาที่กำหนดให้ครบถ้วน • สำรองวัสดุที่จะใช้ในการบำรุงรักษาให้เพียงพอ • ทำเปลี่ยนอะไหล่ที่ไกล้หมดอายุการงานก่อนที่เครื่องจักรจะชำรุด
ปัญหาในการประชุมทบทวนครั้งที่ 6 • การลงบันทึกข้อมูลในระบบบำรุงรักษา (Pm)ไม่ครบถ้วน • ไม่มีการบันทึกข้อมูลระยะเวลาการหยุดเครื่องจักรที่เสียหลังจากซ่อมเสร็จแล้ว
การแก้ไขปัญหาในการประชุมทบทวนครั้งที่ 6 • ได้มีการแนะให้ลงข้อมูลให้ครบถ้วนและเป็นไปตามความจริง • ได้มีการจัดประชุมและชี้แจ้งให้ลงบันทึกข้อมูลในระบบให้ครบถ้วน(ระยะเวลาในการหยุเครื่องจักร)
ปัญหาจากการตรวจรับรองจาก URS • ให้ปรับแผนการบำรุงรักษาลิฟต์ให้สอดคล้องกับแผนของบริษัทที่จะเข้าดำเนินการบำรุงรักษาระบบลิฟต์และบันไดเลื่อน • แบบฟอร์การตรวจสอบเครื่องทำความเย็นChiller ควรมีการกำหนดค่าเบี่ยงเบนที่ยอมรับได้เพื่อความสะดวกของช่างผู้ควบคุมเครื่องChillerพิจารณาในการตรวจสอบ
การแก้ไขปัญหาจากการตรวจรับรองจาก URS • ในปีงบประมาณ 2557 ทางหน่วยงานได้ดำเนินการเรียกบริษัทที่บำรุงรักษาลิฟต์ประชุม เพื่อปรับแผนการบำรุงรักษาให้สอดคล้องกับแผนการบำรุงรักษาที่ทางโรงพยาบาลกำหนดเพื่อให้เป็นการสอดคร้องตามที่ทางบริษัท URS แนะนำในการจัดทำแผน • ได้เชิญบริษัท Carrier ที่ทำการบำรุงรักษาเครื่อง Chillerเอาค่า มารตฐานของเครื่องมาติดที่หน้าเครื่องChiller เพื่อให้ผู้ควบคุมได้รู้ค่าเบี่ยงเบนของอุณหภูมิน้ำเข้า-น้ำออก และแรงดันน้ำเข้า-น้ำออกของเครื่อง